แผนการทำงานของ BïoGaT **
W ee k 1 :: สำรวจถังพี่ ม.5 , แหล่งขยะและปริมาณของขยะภายในโรงเรียน , สัมภาษณ์ผู้ที่เคยมีส่วนช่วยและเป็นผู้ทำก๊าซชีวภาพ( ในที่นี้หมายถึงครูดุจและป้าเปรี้ยว )
W ee k 2 :: หาและรวบรวมวัตถุดิบในการหมักก๊าซชีวภาพ ซึ่งก็คือ เศษอาหารและขี้หมูแห้ง รวมถึงทำการล้างและซ่อมแซมส่วนที่เสียหายของถังและวิเคราะห์ปัญหารวมถึงปรับปรุงแก้ไขที่ไม่มีก๊าซชีวภาพเกิดขึ้น เพื่อให้สามารถนำก๊าซชีวภาพมาใช้ได้จริง
W ee k 3 :: เริ่มทำการหมักก๊าซชีวภาพ ปรับค่า pH ให้อยู่ในช่วง 6.5 - 7.0 และทิ้งถังที่หมักเศษอาหารไว้ประมาณ 15 วัน( ตามที่ป้าเปรี้ยวบอก ) ระหว่างนั้นหาข้อมูลเพิ่มเติมในการทำ Bioetanol ด้วยใบไม้รวมถึงออกแบบการสกัดและรวบรวมใบไม้เพื่อนำมาหมัก
W ee k 4 :: ทำถังหมักใบไม้ เมื่อทำเสร็จก็เริ่มทำการหมัก
W ee k 5 :: คอยเติมเศษอาหารทุกๆวัน ในบ่อก๊าซชีวภาพที่หมักจากเศษอาหาร เติมเศษใบไม้ในบ่อ Bioethanol สรุปปัญหาที่พบ ทำการวิเคราะห์ปัญหา สรุปรวมรวมข้อมูลรวมถึงหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อนำมาปรับปรุงและแก้ไขปัญหานั้นๆต่อไป
------------------------------------------------ [ b¥ : $ a $ k i a ] ------------------------------------
To :: EaRsHaR
แบม จ๋า ที่พิมกันวันนี้ในชม.อ่ะ เอามาลงด้วยจิ
เพราะ ไม่ค่อย มั่นใจแผนการทำงานอ่ะ นี่ลองพิมมาให้ดูคร่าวๆนะ
เผื่อว่าจะได้เอามาแก้ไขให้ละเอียดขึ้นอีกที นุง อ่า หุๆ
From :: $askia
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
€diT ใหม่ แล้วน้อ ~ \ *0* /
วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550
final main idea..............????????
แนวคิดหลักในการทำ Biogas
ในเทอมนี้ เราได้เรียนในเรื่องของภูมิอากาศและปรากฏการณ์ตามธรรมชาติต่างๆ ทั้งในระดับโลก ระดับทวีป จนถึงประเทศไทย ซึ่งจากการศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตินี้ ทำให้เราได้รู้ว่าโลกที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้ กำลังถอยห่างจากธรรมชาติออกไปทุกทีๆ และปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ก็คือ “ภาวะโลกร้อน” เราได้รู้ว่าภาวะโลกร้อนเกิดจากการที่มีก็าซเรือนกระจกถูกปล่อยออกสู่อากาศ ก็าซเหล่านี้จะดูดซับและกักแสงอาทิตย์เอาไว้ภายในโลก ซึ่งก็าซที่ดูดซับแสงอาทิตย์ไว้มากที่สุดก็คือ CO2 นอกจากจะเรียนรู้การเกิดภาวะโลกร้อนแล้ว เราก็ยังได้เรียนรู้ถึงผลกระทบที่ตามมากับภาวะโลกร้อน ไม่ว่าจะเป็นการขยายตัวของทะเลทราย อัตราการเกิดน้ำท่วมที่เพิ่มมากขึ้น หรือการระบาดของเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้ ถ้าเราไม่ทำอะไรซักอย่างเพื่อช่วยกันชะลอภาวะโลกร้อน โลกของเราก็คงจะต้องเข้าสู่ภาวะวิกฤตที่ร้ายแรงอย่างไม่เคยมีมาก่อน หลังจากได้มองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับโลกของเราแล้ว เราก็ได้เรียนในเรื่องของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เราได้เรียนรู้ตั้งแต่การเรียกชื่อสารประกอบ Hydrocarbon ทำให้เราได้รู้ว่าทั้ง Petroleum น้ำมันทั้งเบนซินและดีเซล รวมถึงเชื้อเพลิงต่างๆ ล้วนเป็นสารประกอบ Hydrocarbon ทั้งสิ้น จากนั้น เราก็ได้เรียนปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเมื่อเผาไหม้แล้วก็จะได้ CO2 กับน้ำ ดังนั้นการที่เราใช้รถหรือเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ ก็ล้วนปล่อย CO2 ออกสู่อากาศทั้งสิ้น เท่ากับว่าเราได้ใช้วิชาเคมีมาอธิบายสิ่งที่เกิดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
โลก.. ไม่สามารถหาความแน่นอนได้ว่า จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อไหร่และอย่างไร หลายปีมาแล้ว ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองโดยปราศจากการคิดคำนึงถึงเหตุที่จะเกิดในภายภาคหน้า หรือความสำคัญของธรรมชาติ อย่างที่ใครคนหนึ่งเคยกล่าวไว้ โลกในเวลานี้คือเวลาที่จะรับผลจากการกระทำในอดีต โดยไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้เกิดความแปรปรวนได้เลย ที่ทำได้มีเพียงการชะลอให้ภัยพิบัติเกิดขึ้นช้าลงเท่านั้น
ปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ๆ และการทำอุตสาหกรรม เป็นการสูบใช้พลังงานในปริมาณมหาศาล ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการปล่อย CO2 ปริมาณมหาศาลด้วย แต่ในโลกยุคปัจจุบันนี้ การจะให้เลิกใช้พลังงานก็คงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น คงจะดีไม่น้อยถ้าเรามีวิธีเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นพลังงานโดยไม่ต้องเผาไหม้ Biogas จึงเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกที่น่าจะช่วยโลกของเราได้ เพราะ Biogas นั้น เป็นก็าซที่เกิดจากการหมักสารอินทรีย์ในสภาพไร้ออกซิเจน โดยจะเกิด CH4 เป็นส่วนใหญ่ โดย Biogas สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทั้งในการประกอบอาหารและรถยนต์ รวมทั้งนำมาผลิตเป็นไฟฟ้า ไม่เพียงเท่านั้น Biogas ยังถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนขยะเป็นทรัพยากรอย่างแท้จริง เพราะ Biogas นั้นสามารถใช้สารอินทรีย์อะไรก็ได้มาหมัก เศษอาหารและเศษใบไม้ต่างๆที่น่าจะเป็นขยะ จึงกลายมาเป็นพลังงานได้ด้วยการทำ Biogas
ในโรงเรียนรุ่งอรุณเรานี้ วัตถุดิบที่เราสามารถนำมาทำ Biogas ได้คือเศษอาหารเหลือทิ้งปริมาณมหาศาลในโรงเรียนที่มีอยู่ทุกวัน ทั้งที่มาจากอาหารกลางวันของทั้งครูและนักเรียนกว่าพันคนในโรงเรียน และร้านขายขนมทั้งสองที่ นอกจากนี้ เรายังสามารถนำเศษใบไม้ที่มีอยู่ทั่วไปในโรงเรียนมาหมักเป็น Biogas ได้ ถ้าหากเราสามารถทำ Biogas ได้สำเร็จ เราคิดว่าจะนำก็าซที่ได้มาเป็นเชื้อเพลิงหมุนเวียนในการทำอาหาร เพราะ Biogas นั้นสามารถนำมาใช้เป็นพลังงานในการหุงต้มได้โดยตรง และเรายังสามารถนำกากที่เหลือจากการหมักมาใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพคุณภาพดีได้อีกด้วย ส่วนปัญหาที่คาดว่าจะพบคือ วัตถุดิบไม่เพียงพอ เนื่องจากต้องใชช้ Biogas ถึง 1 ลูกบาศก์เมตรในการทำอาหาร 3 มื้อ โดยมื้อในที่นี้ก็เป็นเพียงมื้อเล็กๆที่กินกันในครอบครัวเท่านั้น ปัญหาอีกข้อก็คือ โดยปกติแล้ว การทำ Biogas จะใช้มูลสัตว์ซึ่งผ่านการย่อยสลายจนมีอนุภาคเล็กลงมาแล้ว เพื่อให้ย่อยสลายง่ายในขั้นตอนการหมัก แต่เศษอาหารและใบไม้ของเรานั้น มีอนุภาคที่ใหญ่ จึงอาจทำให้ย่อยสลายได้ไม่ดีเท่าใดนัก
ถ้าหากว่าทุกประเทศทั่วโลกหันมาใช้พลังงานทางเลือกอย่าง Biogas กันมากขึ้น ถึงแม้ว่าเราอาจจะไม่สามารถใช้ Biogas เป็นพลังงานแทน Petroleum ได้ทั้งหมด แต่สิ่งที่จะลดลงอย่างแน่นอนหากเราหันมาทำ Biogas ก็คือ CO2 ทั้งจากการเผาขยะและ Petroleum ถึงแม้ว่าขยะกว่า 50% จะไม่ใช้สารอินทรีย์ที่นำมาหมักได้ แต่ก็ยังมีขยะเป็นจำนวนมาก ที่ยังสามารถนำมาหมักเป็น Biogas ได้ หากเราไม่นำขยะเหล่านั้นมาแปรรูป ขยะเหล่านั้นก็คงต้องถูกเผาในโรงกำจัดขยะ นอกจากจะลด CO2 ได้แล้ว ก็ยังจะสามารถลด CH4 ซึ่งเป็นมลพิษและเป็นหนึ่งในก็าซเรือนกระจกได้ โดยการเปลี่ยนให้กลายเป็นพลังงาน ในภาคเกษตรกรรม หากเกษตรกรนำเอามูลสัตว์และเศษใบไม้มาหมัก จะสามารถลดต้นทุนได้ทั้งในการกำจัดขยะและการซื้อปุ๋ยเคมี เพราะกากที่ได้จากการหมัก เป็นปุ๋ยชีวภาพที่ผ่านการหมักและการย่อยสลายมาอย่างเต็มที่แล้ว จึงเป็นปุ๋ยคุณภาพดียิ่งกว่าปุ๋ยเคมีเสียอีก การทำ Biogas ยังช่วยลดมลพิษ กลิ่นเหม็น และควันไฟจากการเผาขยะ รวมถึงช่วยบำบัดน้ำ ทำให้ทัศนียภาพในเมืองหน้าอยู่มากขึ้น เท่ากับว่า Biogas นี้จะสามารถให้ประโยชน์ได้ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน และเกษตรกรรม
สำหรับตัวพวกเราเอง สิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อเราอย่างแน่นอนหากเราทำ Biogas ไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม คือ เราจะได้ความรู้ใหม่ๆ อย่างแรกเลยก็คือความรู้เรื่องเกี่ยวกับพลังงานทดแทนและ Biogas ความรู้ในวิชาเคมี ในเรื่องของปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นขณะหมัก วิชาชีววิทยา ในเรื่องของจูลินทรีย์ ตลอดจนวิชาฟิสิกส์ ในเรื่องของอุณหภูมิ ความดัน และพลังงาน เป็นต้น นอกจากในด้านความรู้แล้ว เรายังจะได้ฝึกตนเองให้มีความละเอียดรอบคอบ เพราะ Biogas เป็นการทำงานกับก็าซ จึงต้องอาศัยความพิถีพิถันและความละเอียดอ่อนในการทำงาน ได้ฝึกความอดทน รับผิดชอบต่อการทำงาน การแก้ปัญหา และสิ่งที่พวกเราคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเรามากที่สุดในการทำ Biogas ครั้งนี้คือ พวกเราจะได้รับรู้ถึงความยากลำบากในการทำงาน ให้เรารับรู้ว่า เวลาที่เราใช้พลังงานมหาศาลนั้น เราทำได้อย่างง่ายดาย แต่การที่เราจะผลิตพลังงานด้วยตัวเองเพียงเล็กน้อยนั้นยากลำบากเพียงใด
“ไม่ต้องคิดว่าอะไรที่ทำแล้วจะดีที่สุดและเป็นประโยชน์มากที่สุดในภายภาคหน้า แต่ให้คิดว่า อะไรที่ไม่ได้ทำแล้วจะเสียดายที่สุดในปัจจุบัน ก็จงทำสิ่งนั้น”
ในเทอมนี้ เราได้เรียนในเรื่องของภูมิอากาศและปรากฏการณ์ตามธรรมชาติต่างๆ ทั้งในระดับโลก ระดับทวีป จนถึงประเทศไทย ซึ่งจากการศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตินี้ ทำให้เราได้รู้ว่าโลกที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้ กำลังถอยห่างจากธรรมชาติออกไปทุกทีๆ และปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ก็คือ “ภาวะโลกร้อน” เราได้รู้ว่าภาวะโลกร้อนเกิดจากการที่มีก็าซเรือนกระจกถูกปล่อยออกสู่อากาศ ก็าซเหล่านี้จะดูดซับและกักแสงอาทิตย์เอาไว้ภายในโลก ซึ่งก็าซที่ดูดซับแสงอาทิตย์ไว้มากที่สุดก็คือ CO2 นอกจากจะเรียนรู้การเกิดภาวะโลกร้อนแล้ว เราก็ยังได้เรียนรู้ถึงผลกระทบที่ตามมากับภาวะโลกร้อน ไม่ว่าจะเป็นการขยายตัวของทะเลทราย อัตราการเกิดน้ำท่วมที่เพิ่มมากขึ้น หรือการระบาดของเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้ ถ้าเราไม่ทำอะไรซักอย่างเพื่อช่วยกันชะลอภาวะโลกร้อน โลกของเราก็คงจะต้องเข้าสู่ภาวะวิกฤตที่ร้ายแรงอย่างไม่เคยมีมาก่อน หลังจากได้มองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับโลกของเราแล้ว เราก็ได้เรียนในเรื่องของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เราได้เรียนรู้ตั้งแต่การเรียกชื่อสารประกอบ Hydrocarbon ทำให้เราได้รู้ว่าทั้ง Petroleum น้ำมันทั้งเบนซินและดีเซล รวมถึงเชื้อเพลิงต่างๆ ล้วนเป็นสารประกอบ Hydrocarbon ทั้งสิ้น จากนั้น เราก็ได้เรียนปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเมื่อเผาไหม้แล้วก็จะได้ CO2 กับน้ำ ดังนั้นการที่เราใช้รถหรือเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ ก็ล้วนปล่อย CO2 ออกสู่อากาศทั้งสิ้น เท่ากับว่าเราได้ใช้วิชาเคมีมาอธิบายสิ่งที่เกิดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
โลก.. ไม่สามารถหาความแน่นอนได้ว่า จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อไหร่และอย่างไร หลายปีมาแล้ว ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองโดยปราศจากการคิดคำนึงถึงเหตุที่จะเกิดในภายภาคหน้า หรือความสำคัญของธรรมชาติ อย่างที่ใครคนหนึ่งเคยกล่าวไว้ โลกในเวลานี้คือเวลาที่จะรับผลจากการกระทำในอดีต โดยไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้เกิดความแปรปรวนได้เลย ที่ทำได้มีเพียงการชะลอให้ภัยพิบัติเกิดขึ้นช้าลงเท่านั้น
ปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ๆ และการทำอุตสาหกรรม เป็นการสูบใช้พลังงานในปริมาณมหาศาล ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการปล่อย CO2 ปริมาณมหาศาลด้วย แต่ในโลกยุคปัจจุบันนี้ การจะให้เลิกใช้พลังงานก็คงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น คงจะดีไม่น้อยถ้าเรามีวิธีเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นพลังงานโดยไม่ต้องเผาไหม้ Biogas จึงเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกที่น่าจะช่วยโลกของเราได้ เพราะ Biogas นั้น เป็นก็าซที่เกิดจากการหมักสารอินทรีย์ในสภาพไร้ออกซิเจน โดยจะเกิด CH4 เป็นส่วนใหญ่ โดย Biogas สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทั้งในการประกอบอาหารและรถยนต์ รวมทั้งนำมาผลิตเป็นไฟฟ้า ไม่เพียงเท่านั้น Biogas ยังถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนขยะเป็นทรัพยากรอย่างแท้จริง เพราะ Biogas นั้นสามารถใช้สารอินทรีย์อะไรก็ได้มาหมัก เศษอาหารและเศษใบไม้ต่างๆที่น่าจะเป็นขยะ จึงกลายมาเป็นพลังงานได้ด้วยการทำ Biogas
ในโรงเรียนรุ่งอรุณเรานี้ วัตถุดิบที่เราสามารถนำมาทำ Biogas ได้คือเศษอาหารเหลือทิ้งปริมาณมหาศาลในโรงเรียนที่มีอยู่ทุกวัน ทั้งที่มาจากอาหารกลางวันของทั้งครูและนักเรียนกว่าพันคนในโรงเรียน และร้านขายขนมทั้งสองที่ นอกจากนี้ เรายังสามารถนำเศษใบไม้ที่มีอยู่ทั่วไปในโรงเรียนมาหมักเป็น Biogas ได้ ถ้าหากเราสามารถทำ Biogas ได้สำเร็จ เราคิดว่าจะนำก็าซที่ได้มาเป็นเชื้อเพลิงหมุนเวียนในการทำอาหาร เพราะ Biogas นั้นสามารถนำมาใช้เป็นพลังงานในการหุงต้มได้โดยตรง และเรายังสามารถนำกากที่เหลือจากการหมักมาใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพคุณภาพดีได้อีกด้วย ส่วนปัญหาที่คาดว่าจะพบคือ วัตถุดิบไม่เพียงพอ เนื่องจากต้องใชช้ Biogas ถึง 1 ลูกบาศก์เมตรในการทำอาหาร 3 มื้อ โดยมื้อในที่นี้ก็เป็นเพียงมื้อเล็กๆที่กินกันในครอบครัวเท่านั้น ปัญหาอีกข้อก็คือ โดยปกติแล้ว การทำ Biogas จะใช้มูลสัตว์ซึ่งผ่านการย่อยสลายจนมีอนุภาคเล็กลงมาแล้ว เพื่อให้ย่อยสลายง่ายในขั้นตอนการหมัก แต่เศษอาหารและใบไม้ของเรานั้น มีอนุภาคที่ใหญ่ จึงอาจทำให้ย่อยสลายได้ไม่ดีเท่าใดนัก
ถ้าหากว่าทุกประเทศทั่วโลกหันมาใช้พลังงานทางเลือกอย่าง Biogas กันมากขึ้น ถึงแม้ว่าเราอาจจะไม่สามารถใช้ Biogas เป็นพลังงานแทน Petroleum ได้ทั้งหมด แต่สิ่งที่จะลดลงอย่างแน่นอนหากเราหันมาทำ Biogas ก็คือ CO2 ทั้งจากการเผาขยะและ Petroleum ถึงแม้ว่าขยะกว่า 50% จะไม่ใช้สารอินทรีย์ที่นำมาหมักได้ แต่ก็ยังมีขยะเป็นจำนวนมาก ที่ยังสามารถนำมาหมักเป็น Biogas ได้ หากเราไม่นำขยะเหล่านั้นมาแปรรูป ขยะเหล่านั้นก็คงต้องถูกเผาในโรงกำจัดขยะ นอกจากจะลด CO2 ได้แล้ว ก็ยังจะสามารถลด CH4 ซึ่งเป็นมลพิษและเป็นหนึ่งในก็าซเรือนกระจกได้ โดยการเปลี่ยนให้กลายเป็นพลังงาน ในภาคเกษตรกรรม หากเกษตรกรนำเอามูลสัตว์และเศษใบไม้มาหมัก จะสามารถลดต้นทุนได้ทั้งในการกำจัดขยะและการซื้อปุ๋ยเคมี เพราะกากที่ได้จากการหมัก เป็นปุ๋ยชีวภาพที่ผ่านการหมักและการย่อยสลายมาอย่างเต็มที่แล้ว จึงเป็นปุ๋ยคุณภาพดียิ่งกว่าปุ๋ยเคมีเสียอีก การทำ Biogas ยังช่วยลดมลพิษ กลิ่นเหม็น และควันไฟจากการเผาขยะ รวมถึงช่วยบำบัดน้ำ ทำให้ทัศนียภาพในเมืองหน้าอยู่มากขึ้น เท่ากับว่า Biogas นี้จะสามารถให้ประโยชน์ได้ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน และเกษตรกรรม
สำหรับตัวพวกเราเอง สิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อเราอย่างแน่นอนหากเราทำ Biogas ไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม คือ เราจะได้ความรู้ใหม่ๆ อย่างแรกเลยก็คือความรู้เรื่องเกี่ยวกับพลังงานทดแทนและ Biogas ความรู้ในวิชาเคมี ในเรื่องของปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นขณะหมัก วิชาชีววิทยา ในเรื่องของจูลินทรีย์ ตลอดจนวิชาฟิสิกส์ ในเรื่องของอุณหภูมิ ความดัน และพลังงาน เป็นต้น นอกจากในด้านความรู้แล้ว เรายังจะได้ฝึกตนเองให้มีความละเอียดรอบคอบ เพราะ Biogas เป็นการทำงานกับก็าซ จึงต้องอาศัยความพิถีพิถันและความละเอียดอ่อนในการทำงาน ได้ฝึกความอดทน รับผิดชอบต่อการทำงาน การแก้ปัญหา และสิ่งที่พวกเราคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเรามากที่สุดในการทำ Biogas ครั้งนี้คือ พวกเราจะได้รับรู้ถึงความยากลำบากในการทำงาน ให้เรารับรู้ว่า เวลาที่เราใช้พลังงานมหาศาลนั้น เราทำได้อย่างง่ายดาย แต่การที่เราจะผลิตพลังงานด้วยตัวเองเพียงเล็กน้อยนั้นยากลำบากเพียงใด
“ไม่ต้องคิดว่าอะไรที่ทำแล้วจะดีที่สุดและเป็นประโยชน์มากที่สุดในภายภาคหน้า แต่ให้คิดว่า อะไรที่ไม่ได้ทำแล้วจะเสียดายที่สุดในปัจจุบัน ก็จงทำสิ่งนั้น”
AIM AND STEP............????
จุดประสงค์ในการทำ Biogas และ Bioethanol
- เพื่อเรียนรู้เทคนิควิธีการทำ Biogas และ Bioethanol จากใบไม้
- เพื่อเรียนรู้กระบวนการหมักแบบไม่ใช้ออกซิเจน
- เพื่อเรียนรู้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทำ Biogas เช่น สารประกอบชีวโมเลกุล กฎของ gas จุลินทรีย์ การคำนวณความดัน พลังงานความร้อน ปริมาตร gas และ enzymes
ขั้นตอนการดำเนินการ
1. ศึกษาข้อมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ Biogas และ Bioethanol
2. สำรวจแหล่งขยะและวิเคราะห์ปริมาณขยะในโรงเรียน โดยสอบถามจากครูดุจและป้าเปรี้ยว
3. สำรวจถังหมักที่มีอยู่เดิม วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น และออกแบบวิธีการปรับปรุงแก้ไขให้สามารถนำ gas มาใช้ได้จริง
4. ล้างถังหมัก และซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย
5. รวบรวมวัตถุดิบที่จะนำมาหมัก ในที่นี้คือเศษอาหาร และขี้หมูแห้ง
6. ทำการหมัก ปรับค่า pH ให้อยู่ระหว่าง 6.5-7.0
7. ระหว่างรอให้เกิด Biogas (คาดว่าใช้เวลาประมาณ 15วัน) รวบรวมข้อมูลและเริ่มออกแบบวิธีการสกัด Bioethanol จากใบไม้
8. เริ่มรวบรวมเศษใบไม้และนำมาทำ Bioethanol
9. หลังจาก 15 วันผ่านไป สังเกตผลที่เกิดจากการหมัก Biogas หากได้ gas ในปริมาณมากพอที่จะทำอาหารหนึ่งมื้อแล้ว จะเริ่มหมัก Biogas ด้วยใบไม่ หากยังไม่สำเร็จ จะติดตามผลและปรับปรุงแก้ไขต่อไป ควบคู่กับการทำ Bioethanol
- เพื่อเรียนรู้เทคนิควิธีการทำ Biogas และ Bioethanol จากใบไม้
- เพื่อเรียนรู้กระบวนการหมักแบบไม่ใช้ออกซิเจน
- เพื่อเรียนรู้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทำ Biogas เช่น สารประกอบชีวโมเลกุล กฎของ gas จุลินทรีย์ การคำนวณความดัน พลังงานความร้อน ปริมาตร gas และ enzymes
ขั้นตอนการดำเนินการ
1. ศึกษาข้อมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ Biogas และ Bioethanol
2. สำรวจแหล่งขยะและวิเคราะห์ปริมาณขยะในโรงเรียน โดยสอบถามจากครูดุจและป้าเปรี้ยว
3. สำรวจถังหมักที่มีอยู่เดิม วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น และออกแบบวิธีการปรับปรุงแก้ไขให้สามารถนำ gas มาใช้ได้จริง
4. ล้างถังหมัก และซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย
5. รวบรวมวัตถุดิบที่จะนำมาหมัก ในที่นี้คือเศษอาหาร และขี้หมูแห้ง
6. ทำการหมัก ปรับค่า pH ให้อยู่ระหว่าง 6.5-7.0
7. ระหว่างรอให้เกิด Biogas (คาดว่าใช้เวลาประมาณ 15วัน) รวบรวมข้อมูลและเริ่มออกแบบวิธีการสกัด Bioethanol จากใบไม้
8. เริ่มรวบรวมเศษใบไม้และนำมาทำ Bioethanol
9. หลังจาก 15 วันผ่านไป สังเกตผลที่เกิดจากการหมัก Biogas หากได้ gas ในปริมาณมากพอที่จะทำอาหารหนึ่งมื้อแล้ว จะเริ่มหมัก Biogas ด้วยใบไม่ หากยังไม่สำเร็จ จะติดตามผลและปรับปรุงแก้ไขต่อไป ควบคู่กับการทำ Bioethanol
**.....FOOD.....**
คือว่าอย่างที่ป้าเปรี้ยวบอกอ่านะว่า gasที่เราได้ออกมาจากถังนั้นอ่ะมันน้อยเกินไป
เราก็เลยลองๆมาคิดดู
คือ gas 1 ลูกบาศก์เมตร อ่ะนะจะใช้ทามอาหารสำหรับ 1 ครอบครัวได้ 3 มื้อ
เเล้ว 1 ลบ.ม. อ่านะ จะเท่ากับ 1000 ลิตร
เเล้วจากข้อมุลที่เราหามา เค้าบอกว่า gasที่ได้จากถังนั้นอ่ะ (ในกรณีที่การทดลองอยุ่ตัวเเล้วอ่ะนะ)จะได้gasวันละปะมาน 5.8 ลิตร (0.0058 ลบ.ม.)ต่ออาหารที่ใส่ลงไป คือ 1 กก.
จะเทียบบัญญัติไตรยางค์ได้ว่า
gas 0.0058 ลบ.ม. ใช้อาหาร 1 kg.
เราก็เลยลองๆมาคิดดู
คือ gas 1 ลูกบาศก์เมตร อ่ะนะจะใช้ทามอาหารสำหรับ 1 ครอบครัวได้ 3 มื้อ
เเล้ว 1 ลบ.ม. อ่านะ จะเท่ากับ 1000 ลิตร
เเล้วจากข้อมุลที่เราหามา เค้าบอกว่า gasที่ได้จากถังนั้นอ่ะ (ในกรณีที่การทดลองอยุ่ตัวเเล้วอ่ะนะ)จะได้gasวันละปะมาน 5.8 ลิตร (0.0058 ลบ.ม.)ต่ออาหารที่ใส่ลงไป คือ 1 กก.
จะเทียบบัญญัติไตรยางค์ได้ว่า
gas 0.0058 ลบ.ม. ใช้อาหาร 1 kg.
gas 1 ลบ.ม. ใช้อาหาร 1/0.0058 * 1 = 172.42 kg. ต่อวัน
วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550
ว่าด้วย.....เรื่องแก๊ส ^o^V
http://chem.flas.kps.ku.ac.th/LectureNotes/728111/111-ch04_Gas.ppt#256,1,แก๊ส (Gas)
งำๆ คลิก หุหุ openเยย
อ่านเพิ่มเติมได้ที คัมภีร์~ หน้า 298-315 งับ
งำๆ คลิก หุหุ openเยย
อ่านเพิ่มเติมได้ที คัมภีร์~ หน้า 298-315 งับ
ETHANOL PRODUCTION............??????
Concentrated Acid Hydrolysis Process The Arkanol process works by adding 70-77% sulphuric acid to the biomass that has been dried to a 10% moisture content. The acid is added in the ratio of 1.25 acid to 1 biomass and the temperature is controlled to 50C. Water is then added to dilute the acid to 20-30% and the mixture is again heated to 100C for 1 hour. The gel produced from this mixture is then pressed to release an acid sugar mixture and a chromatographic column is used to separate the acid and sugar mixture.
Dilute Acid Hydrolysis The dilute acid hydrolysis process is one of the oldest, simplest and most efficient methods of producing ethanol from biomass. Dilute acid is used to hydrolyse the biomass to sucrose. The first stage uses 0.7% sulphuric acid at 190C to hydrolyse the hemi cellulose present in the biomass. The second stage is optimised to yield the more resistant cellulose fraction. This is achieved by using 0.4% sulphuric acid at 215C.The liquid hydrolates are then neutralised and recovered from the process.
Sugar Fermentation Process The hydrolysis process breaks down the cellulostic part of the biomass or corn into sugar solutions that can then be fermented into ethanol. Yeast is added to the solution, which is then heated. The yeast contains an enzyme called invertase, which acts as a catalyst and helps to convert the sucrose sugars into glucose and fructose (both C6H12O6). The chemical reaction is shown below: C12H22011+H2O----->C6H12O6+C6H12O6
sucrose glucose fructose
The fructose and glucose sugars then react with another enzyme called zymase, which is also contained in the yeast to produce ethanol and carbon dioxide. The chemical reaction is shown below: C6H12O6----->2C2H5OH+2CO2
glucose/fructose ethanol
The fermentation process takes around three days to complete and is carried out at a temperature of between 250C and 300C.
เห็นเป็นภาษาอังกฤษก็อย่าเพิ่งตกใจ ส่วนใหญ่อธิบายแค่กระบวนการและวิธีการเปลี่ยน cellulose เป็น ethanol
note 2 กระบวนการแรกเป็นการเปลี่ยน biomass(cellulose hemicellulose lignin) ให้เป็นน้ำตาล เลือกเอาวิธีไหนก็ได้ ส่วนอันสุกท้ายเป็นการเปลี่ยนน้ำตาลเป็น ethanol
ยังไงก็จะลองหาที่เป็น thai มาให้นะ แต่ถ้าจะเอาละเอียดแบบนี้ส่วนใหญ่คงมีแต่ภาษาอังกฤษ
follow this link for more information:http://www.esru.strath.ac.uk/EandE/Web_sites/02-03/biofuels/what_bioethanol.htm
Dilute Acid Hydrolysis The dilute acid hydrolysis process is one of the oldest, simplest and most efficient methods of producing ethanol from biomass. Dilute acid is used to hydrolyse the biomass to sucrose. The first stage uses 0.7% sulphuric acid at 190C to hydrolyse the hemi cellulose present in the biomass. The second stage is optimised to yield the more resistant cellulose fraction. This is achieved by using 0.4% sulphuric acid at 215C.The liquid hydrolates are then neutralised and recovered from the process.
Sugar Fermentation Process The hydrolysis process breaks down the cellulostic part of the biomass or corn into sugar solutions that can then be fermented into ethanol. Yeast is added to the solution, which is then heated. The yeast contains an enzyme called invertase, which acts as a catalyst and helps to convert the sucrose sugars into glucose and fructose (both C6H12O6). The chemical reaction is shown below: C12H22011+H2O----->C6H12O6+C6H12O6
sucrose glucose fructose
The fructose and glucose sugars then react with another enzyme called zymase, which is also contained in the yeast to produce ethanol and carbon dioxide. The chemical reaction is shown below: C6H12O6----->2C2H5OH+2CO2
glucose/fructose ethanol
The fermentation process takes around three days to complete and is carried out at a temperature of between 250C and 300C.
เห็นเป็นภาษาอังกฤษก็อย่าเพิ่งตกใจ ส่วนใหญ่อธิบายแค่กระบวนการและวิธีการเปลี่ยน cellulose เป็น ethanol
note 2 กระบวนการแรกเป็นการเปลี่ยน biomass(cellulose hemicellulose lignin) ให้เป็นน้ำตาล เลือกเอาวิธีไหนก็ได้ ส่วนอันสุกท้ายเป็นการเปลี่ยนน้ำตาลเป็น ethanol
ยังไงก็จะลองหาที่เป็น thai มาให้นะ แต่ถ้าจะเอาละเอียดแบบนี้ส่วนใหญ่คงมีแต่ภาษาอังกฤษ
follow this link for more information:http://www.esru.strath.ac.uk/EandE/Web_sites/02-03/biofuels/what_bioethanol.htm
CELLULOSE BECOME ETHANOL...........?????
พืชสะสมพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรูปพลังงานเคมีของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ในเนื้อเยื่อพืชที่เราเรียกรวม ๆ ว่า ไบโอแมสนั้นประกอบด้วยส่วนสำคัญคือ เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนินเซลลูโลสเป็นพอลิเมอร์ของน้ำตาลซึ่งต่อกันเป็นสายยาว โดยหลักการแล้วถ้าเราตัดเซลลูโลสออกเป็นแต่ละยูนิดของน้ำตาลเราก็จะได้น้ำตาลเพื่อเอามาหมักด้วยยีสต์เพื่อผลิตแอลกอฮอล์การตัดเซลลูโลสอาจตัดด้วยกรด หรือเอนไซม์ แต่ว่าพืชมีเฮมิเซลลูโลสและลิกนินด้วยจึงต้องทำให้เป็นเซลลูโลสบริสุทธิ์เสียก่อน พืชแต่ละชนิดก็มีสัดส่วนของ เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนินแตกต่างกันขั้นตอนการผลิตแอลกฮฮอล์จากไบโอแมสพอสรุปไดดังนี้ขั้นตอนพรีทรีต1. ทำให้ขนาดเล็กลง2. แยกเอาเฮมิเซลลูโลส และ ลิกนินออก3. อบด้วยไอน้ำเพื่อให้เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเซลลูโลสและง่ายต่อการเข้าทำปฏิกิริยาของกรด หรือเอนไซม์4. การทำปฏิกิริยาของกรดหรือเอนไซม์เพื่อเปลี่ยนเซลลูโลสให้เป็นน้ำตาลขั้นตอนการหมักโดยยีสต์ เหมือนกับการหมักน้ำตาลทั่ว ๆ ไปขั้นตอนการกลั่น เหมือนกับการกลั่นทั่ว ๆ ไปจะเห็นได้ว่าเซลลูโลสแม้ว่าจะได้มาฟรี ๆ หรือราคาถูกกว่าแป้งและน้ำตาลมาก แต่กระบวนการเตรียมค่อนข้างยุ่งยากและเพิ่มต้นทุน มีบางบริษัทที่อ้างว่าสามารถค้นพบเอนไซม์ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม 20 เท่า แต่ก็เป็นความลับทางการค้า กระบวนการนี้ทำได้ในห้องปฏิบัติการ ผมไม่แน่ใจว่าถึงขั้นโรงงานสาธิตแล้วหรือยัง แต่ในทางอุตสาหกรรมมันยังเป็นเทคโนโลยีที่ยังไม่ได้พิสูจน์ยืนยัน คงต้องมีการพัฒนาอีกระยะหนึ่งยังมีวิธีอื่นในการเปลี่ยนเซลลูโลสให้เป็นแอลกอฮอล์ ก็คือวีธีแก้สสิฟิเคชั่น คือเปลี่ยนไบโอแมสเป็นแก้สสังเคราะห์ก่อน แล้วค่อยทำปฏิกิริยาเพื่อเปลี่ยนเป็นแอลกอฮอล์ทีหลัง
ETHANOL
การผลิตเอทานอล
กระบวนการผลิตเอทานอล ประกอบด้วย กระบวนการเตรียมวัตถุดิบสำหรับผลิตเอทานอล กระบวนการหมัก และการแยกผลิตภัณฑ์เอทานอลและการทำให้บริสุทธิ์ ซึ่งในขั้นตอบการเตรียมวัตถุดิบนั้น ถ้าเป็นประเภทแป้งหรือเซลลูโลส เช่นมันสำปะหลังและธันยพืช จะต้องนำไปผ่านกระบวนการย่อยแป้งหรือเซลลูโลสให้เป็นน้ำตาลก่อน ด้วยการใช้กรดหรือเอนไซม์ ส่วนวัตถุดิบประเภทน้ำตาลเช่นกากน้ำตาลหรือน้ำอ้อย เมื่อปรับความเข้มข้นให้เหมาะสมแล้วสามารถนำไปหมักได้
ในกระบวนการหมัก จะเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นแอลกอฮอล์โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ยีสต์ การเลือกใช้ชนิดของเชื้อจุลินทรีย์ที่เหมาะสมกับวึตถุดิบที่นำมาหมัก จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการหมัก ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการหมักคือ เอธิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอลที่มีความเข้มข้นประมาณร้อยละ 8-12 โดยปริมาตร
น้ำหมักที่ได้จากกระบวนการหมัก จะนำมาแยกเอทานอลออกโดยใช้กระบวนการกลั่นลำดับส่วน ซึ่งสามารถแยกเอทานอลให้ได้ความบริสุทธิ์ประมาณร้อยละ 95 โดยปริมาตร จากนั้นจึงเข้าสู่กรรมวิธีในการแยกน้ำโดยการใช้โมเลกูล่าร์ซีพ (molecular sieve separation) เอทานอลที่ความบริสุทธิ์ ร้อยละ 95 จะผ่านเข้าไปในหอดูดซับที่บรรจุตัวดูดซับประเภทซีโอไลต์ โมเลกุลของเอทานอลจะไหลผ่านช่องว่างของซีโอไลต์ออกไปได้ แต่โมเลกุลของน้ำจะถูกดูดซับไว้ ทำให้เอทานอลที่ไหลออกไปมีความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 ส่วนซีโอไลต์ที่ดูดซับน้ำไว้จะถูกรีเจนเนอเรตโดยการไล่น้ำออก เอทานอลความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 สามารถนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเพื่อใช้ในรถยนต์เครื่องยนต์เบนซินได้
LINK :: http://www.dede.go.th/dede/index.php?id=518
กระบวนการผลิตเอทานอล ประกอบด้วย กระบวนการเตรียมวัตถุดิบสำหรับผลิตเอทานอล กระบวนการหมัก และการแยกผลิตภัณฑ์เอทานอลและการทำให้บริสุทธิ์ ซึ่งในขั้นตอบการเตรียมวัตถุดิบนั้น ถ้าเป็นประเภทแป้งหรือเซลลูโลส เช่นมันสำปะหลังและธันยพืช จะต้องนำไปผ่านกระบวนการย่อยแป้งหรือเซลลูโลสให้เป็นน้ำตาลก่อน ด้วยการใช้กรดหรือเอนไซม์ ส่วนวัตถุดิบประเภทน้ำตาลเช่นกากน้ำตาลหรือน้ำอ้อย เมื่อปรับความเข้มข้นให้เหมาะสมแล้วสามารถนำไปหมักได้
ในกระบวนการหมัก จะเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นแอลกอฮอล์โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ยีสต์ การเลือกใช้ชนิดของเชื้อจุลินทรีย์ที่เหมาะสมกับวึตถุดิบที่นำมาหมัก จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการหมัก ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการหมักคือ เอธิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอลที่มีความเข้มข้นประมาณร้อยละ 8-12 โดยปริมาตร
น้ำหมักที่ได้จากกระบวนการหมัก จะนำมาแยกเอทานอลออกโดยใช้กระบวนการกลั่นลำดับส่วน ซึ่งสามารถแยกเอทานอลให้ได้ความบริสุทธิ์ประมาณร้อยละ 95 โดยปริมาตร จากนั้นจึงเข้าสู่กรรมวิธีในการแยกน้ำโดยการใช้โมเลกูล่าร์ซีพ (molecular sieve separation) เอทานอลที่ความบริสุทธิ์ ร้อยละ 95 จะผ่านเข้าไปในหอดูดซับที่บรรจุตัวดูดซับประเภทซีโอไลต์ โมเลกุลของเอทานอลจะไหลผ่านช่องว่างของซีโอไลต์ออกไปได้ แต่โมเลกุลของน้ำจะถูกดูดซับไว้ ทำให้เอทานอลที่ไหลออกไปมีความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 ส่วนซีโอไลต์ที่ดูดซับน้ำไว้จะถูกรีเจนเนอเรตโดยการไล่น้ำออก เอทานอลความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 สามารถนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเพื่อใช้ในรถยนต์เครื่องยนต์เบนซินได้
LINK :: http://www.dede.go.th/dede/index.php?id=518
CELLULOSE.........????????? (ENG VER.)
Cellulose is an organic compound with the formula (C6H10O5)n. It is a structural polysaccharide derived from beta-glucose.[1][2] Cellulose is the primary structural component of green plants. The primary cell wall of green plants is made of cellulose; acetic acid bacteria are also known to synthesize cellulose, as well as many forms of algae, and the oomycetes. Cellulose was discovered and isolated in the mid-nineteenth century by the French chemist Anselme Payen[3][1] and, as of the year 2006, the estimated annual production of 1.5x109 tonnes.[4] Some animals, particularly ruminants and termites, can digest cellulose with the help of symbiotic micro-organisms (see methanogen). Cellulose is not digestible by humans and is often referred to as 'dietary fiber' or 'roughage', acting as a hydrophilic bulking agent for feces.
Breakdown (cellulolysis)
Cellulolysis is the process relating to or causing the hydrolysis of cellulose (i.e. cellulolytic bacteria, fungi or enzymes).
Mammals do not have the ability to break down cellulose directly. Typically, this ability is possessed only by certain bacteria (which have specific enzymes) like Cellulomonas etc., and which are often the flora on the gut walls of ruminants like cows and sheep, or by fungi, which in nature are responsible for cycling of nutrients. The enzymes utilized to cleave the glycosidic linkage in cellulose are glycoside hydrolases including endo-acting cellulases and exo-acting glucosidases. Such enzymes are usually secreted as part of multienzyme complexes that may include dockerins and cellulose binding modules, referred to in some cases as cellulosomes.
Many cellulolytic bacteria, fungi or enzymes break down cellulose into shorter linked chains known as cellodextrins.
Breakdown (cellulolysis)
Cellulolysis is the process relating to or causing the hydrolysis of cellulose (i.e. cellulolytic bacteria, fungi or enzymes).
Mammals do not have the ability to break down cellulose directly. Typically, this ability is possessed only by certain bacteria (which have specific enzymes) like Cellulomonas etc., and which are often the flora on the gut walls of ruminants like cows and sheep, or by fungi, which in nature are responsible for cycling of nutrients. The enzymes utilized to cleave the glycosidic linkage in cellulose are glycoside hydrolases including endo-acting cellulases and exo-acting glucosidases. Such enzymes are usually secreted as part of multienzyme complexes that may include dockerins and cellulose binding modules, referred to in some cases as cellulosomes.
Many cellulolytic bacteria, fungi or enzymes break down cellulose into shorter linked chains known as cellodextrins.
BIOMOLECULES................??????? (สารชีวโมเลกุล)
please follow this link:
http://192.207.64.23/Chem_Tutor/biomolecules.pdf
read only page 1-8
พอดีมันมีสูตรโครงส้างที่ copy มาไม่ได้อ่านะ ลองไปอ่านดูแล้วกัน ความจริงอันนี้มันก็รวมๆทุกอย่าง แต่ต้องลองดูตรง carbohydrate มันจะมีเรื่องของ cellulose อยู่ มีการสลายพันธะ polysacharide ด้วยกรด ไม่รู้เราจะใช้วิธีนี้ได้ป่าว
http://192.207.64.23/Chem_Tutor/biomolecules.pdf
read only page 1-8
พอดีมันมีสูตรโครงส้างที่ copy มาไม่ได้อ่านะ ลองไปอ่านดูแล้วกัน ความจริงอันนี้มันก็รวมๆทุกอย่าง แต่ต้องลองดูตรง carbohydrate มันจะมีเรื่องของ cellulose อยู่ มีการสลายพันธะ polysacharide ด้วยกรด ไม่รู้เราจะใช้วิธีนี้ได้ป่าว
วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2550
แนวทางการดำเนินงาน** ^ ^ **
แนวทางการดำเนินงาน
1. ศึกษาการเกิดก๊าซชีวภาพและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2. สำรวจแหล่งขยะและวิเคราะห์ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือน
3. ออกแบบและสร้างชุดการทดลอง
4. หมักและบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการหมัก
5. รวบรวมข้อมูลที่ได้ในช่วงของการหมัก
6. วิเคราะห์ ปริมาณก๊าชชีวภาพเนื่องจากก๊าชที่เกิดขึ้นจากการหมักขยะ
7. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดและสรุปผล
link:: http://mis.en.kku.ac.th/mis/administrator/upload/ME20061018164616.pdf
1. ศึกษาการเกิดก๊าซชีวภาพและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2. สำรวจแหล่งขยะและวิเคราะห์ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือน
3. ออกแบบและสร้างชุดการทดลอง
4. หมักและบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการหมัก
5. รวบรวมข้อมูลที่ได้ในช่วงของการหมัก
6. วิเคราะห์ ปริมาณก๊าชชีวภาพเนื่องจากก๊าชที่เกิดขึ้นจากการหมักขยะ
7. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดและสรุปผล
link:: http://mis.en.kku.ac.th/mis/administrator/upload/ME20061018164616.pdf
สร้างถังหมักก๊าซขนาด 60 ลิตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 34.76 ซม. สูง 52 ซม.
ทำการทดสอบการหมักเศษอาหารโดยเริ่มต้นจากน้ำเชื้อจากมูลสุกร และใส่เศษอาหารเข้าไปในถังหมักวันละ 1 กิโลกรัม
วัดปริมาณก๊าชที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน จากการศึกษาพบว่าเศษอาหารในถังหมัก 1 กิโลกรัมสามารถผลิตก๊าชชีวภาพออกมาได้เฉลี่ย 5,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร
นำก๊าซที่ได้ไปตรวจสอบองค์ประกอบของก๊าชโดยใช้เครื่อง Gas Chromatograph พบว่าก๊าชชีวภาพมีองค์ประกอบดังนี้คือ ก๊าชมีเทน (CH4) 42.76 %, คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 38.00%, ไนโตรเจน (N2 ) 19.20 % และก๊าชอื่นๆ อีก 0.04 % ซึ่งสามารถนำก๊าชชีวภาพที่ได้นี้ไปใช้เป็นเชื้อเพลิงต่อไปได้
ทำการทดสอบการหมักเศษอาหารโดยเริ่มต้นจากน้ำเชื้อจากมูลสุกร และใส่เศษอาหารเข้าไปในถังหมักวันละ 1 กิโลกรัม
วัดปริมาณก๊าชที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน จากการศึกษาพบว่าเศษอาหารในถังหมัก 1 กิโลกรัมสามารถผลิตก๊าชชีวภาพออกมาได้เฉลี่ย 5,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร
นำก๊าซที่ได้ไปตรวจสอบองค์ประกอบของก๊าชโดยใช้เครื่อง Gas Chromatograph พบว่าก๊าชชีวภาพมีองค์ประกอบดังนี้คือ ก๊าชมีเทน (CH4) 42.76 %, คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 38.00%, ไนโตรเจน (N2 ) 19.20 % และก๊าชอื่นๆ อีก 0.04 % ซึ่งสามารถนำก๊าชชีวภาพที่ได้นี้ไปใช้เป็นเชื้อเพลิงต่อไปได้
BIOGAS PROJECT o-0**
อาจารย์มาโนชหัวหน้าโครงงานฯ ได้เล่าถึงวิธีทดลองวิจัยจนมากลายเป็นผลงานชิ้นนี้ว่า...เริ่มด้วยการ หมักขยะอินทรีย์ปริมาณเท่ากัน 3 ชุดการ ทดลอง คือ เศษอาหาร, เศษผลไม้ และ ใบไม้สด นำเข้าเครื่องบดย่อยและปรับค่า pH ให้เป็นกลาง ผสมกับมูลวัวสดอันเป็นแหล่งจุลินทรีย์คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำลงในถังหมักแบบปิดที่จัดทำขึ้นเอง จากนั้นก็เพิ่มปริมาณขยะอินทรีย์เป็นระยะ โดยต้องใช้ไม้กวนหรือคนให้เข้ากันทุกวัน
“.....ให้ตรวจวัดค่า pH และอุณหภูมิที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก เมื่อหมักครบ 15 วัน วัดผลปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้นจากหลอดระดับน้ำที่เชื่อมกับถังปิด โดยใช้หลักการแทนที่ของก๊าซ วัดระดับที่ลดต่ำลงของผิวน้ำในหลอดระดับน้ำ และทดลองก๊าซที่เกิดขึ้นว่าสามารถนำไปหุงต้มได้หรือไม่...”
จากการศึกษาทดลองการหมักอินทรีย์พบว่าต้อง ใช้เวลาถึง 15 วัน จึงจะเกิดก๊าซชีวภาพ ค่า pH อุณหภูมิของการหมักขยะอินทรีย์ทั้ง 3 ชนิด มีค่า pH เฉลี่ยอยู่ในช่วง 6.8-6.9 และอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในช่วง 28-29 องศาเซลเซียส
ส่วนปริมาณก๊าซชีวภาพจากการหมักขยะอินทรีย์วัดจากค่าความแตกต่างของระดับน้ำ ปรากฏว่า การหมักจากเศษอาหารปริมาณก๊าซชีวภาพ มากกว่าการหมักจากเศษผลไม้ และใบไม้สด คือ ระดับน้ำของถังหมัก ที่หมักจากเศษอาหารมีระดับน้ำเฉลี่ย 53 ซม.ระดับน้ำของถังหมักที่หมักจากเศษผลไม้มีระดับน้ำเฉลี่ย 42 ซม.ระดับน้ำของถังหมักที่หมักใบไม้สดมีระดับน้ำเฉลี่ย 7 ซม.
นอกจากนี้ การหมักจาก เศษอาหาร ยังเกิดกระบวนการขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เพราะว่า ถังหมักจากผลไม้มีความเป็นกรดก่อนเริ่มหมักสูง ต้องปรับ pH ด้วย NaOH ค่อนข้างมาก ส่วนถังหมักจากใบไม้ไม่ค่อยย่อยสลายจึงเกิดก๊าซชีวภาพน้อยมาก
ทั้งนี้ ในการเตรียมสภาพขยะอินทรีย์ ต้องคัดแยกสิ่งไม่เหมาะสมต่อการย่อยสลายของจุลินทรีย์ออกเสียก่อน เช่น กระดูกชิ้นใหญ่, ไม้จิ้มฟัน, ไม้เสียบลูกชิ้น, กระดาษทิชชู, ฝาน้ำอัดลม, พลาสติกและ ฯลฯ แล้วทำการบดย่อยให้มีขนาดเล็กที่สุด...
ต้นทุนที่ใช้ในการทำถังผลิตก๊าซชีวภาพอยู่ที่ 20,000 ถึง 40,000 บาท...ซึ่งคุ้มค่าในยุคปัจจุบันที่น้ำมันแพง รายละเอียดเพิ่มเติมจาก อาจารย์มาโนช แสงทอง โรงเรียนวัดเจ็ดริ้ว (สาครกิจโกศล) อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ในเวลาราชการ.
“.....ให้ตรวจวัดค่า pH และอุณหภูมิที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก เมื่อหมักครบ 15 วัน วัดผลปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้นจากหลอดระดับน้ำที่เชื่อมกับถังปิด โดยใช้หลักการแทนที่ของก๊าซ วัดระดับที่ลดต่ำลงของผิวน้ำในหลอดระดับน้ำ และทดลองก๊าซที่เกิดขึ้นว่าสามารถนำไปหุงต้มได้หรือไม่...”
จากการศึกษาทดลองการหมักอินทรีย์พบว่าต้อง ใช้เวลาถึง 15 วัน จึงจะเกิดก๊าซชีวภาพ ค่า pH อุณหภูมิของการหมักขยะอินทรีย์ทั้ง 3 ชนิด มีค่า pH เฉลี่ยอยู่ในช่วง 6.8-6.9 และอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในช่วง 28-29 องศาเซลเซียส
ส่วนปริมาณก๊าซชีวภาพจากการหมักขยะอินทรีย์วัดจากค่าความแตกต่างของระดับน้ำ ปรากฏว่า การหมักจากเศษอาหารปริมาณก๊าซชีวภาพ มากกว่าการหมักจากเศษผลไม้ และใบไม้สด คือ ระดับน้ำของถังหมัก ที่หมักจากเศษอาหารมีระดับน้ำเฉลี่ย 53 ซม.ระดับน้ำของถังหมักที่หมักจากเศษผลไม้มีระดับน้ำเฉลี่ย 42 ซม.ระดับน้ำของถังหมักที่หมักใบไม้สดมีระดับน้ำเฉลี่ย 7 ซม.
นอกจากนี้ การหมักจาก เศษอาหาร ยังเกิดกระบวนการขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เพราะว่า ถังหมักจากผลไม้มีความเป็นกรดก่อนเริ่มหมักสูง ต้องปรับ pH ด้วย NaOH ค่อนข้างมาก ส่วนถังหมักจากใบไม้ไม่ค่อยย่อยสลายจึงเกิดก๊าซชีวภาพน้อยมาก
ทั้งนี้ ในการเตรียมสภาพขยะอินทรีย์ ต้องคัดแยกสิ่งไม่เหมาะสมต่อการย่อยสลายของจุลินทรีย์ออกเสียก่อน เช่น กระดูกชิ้นใหญ่, ไม้จิ้มฟัน, ไม้เสียบลูกชิ้น, กระดาษทิชชู, ฝาน้ำอัดลม, พลาสติกและ ฯลฯ แล้วทำการบดย่อยให้มีขนาดเล็กที่สุด...
ต้นทุนที่ใช้ในการทำถังผลิตก๊าซชีวภาพอยู่ที่ 20,000 ถึง 40,000 บาท...ซึ่งคุ้มค่าในยุคปัจจุบันที่น้ำมันแพง รายละเอียดเพิ่มเติมจาก อาจารย์มาโนช แสงทอง โรงเรียนวัดเจ็ดริ้ว (สาครกิจโกศล) อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร ในเวลาราชการ.
วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2550
To : BioGat Mem ~*/
::::::::::::::::::::* $ a $ k i a Talk *:::::::::::::::::::::::::::
To : EaRaHaR
แบม ฝากส่งลิงค์นี้ให้ครูด้วยจิ กิฟมะมีเมลครูชาลีอ่ะ - 0 -
รึจาค่อยปริ้นส่งวันจันทร์ แบบรวมแล้ว เอายังไงกะโพสบอกไม่ก็โทรมาได้น๊ะ
To : w h i $ k ¥ & Peter
เจน กะ คิม แกมีที่แกสรุปที่บ้านป่าวอ่ะ ที่แกเอาให้ชั้นมา ถ้ามีพิมลงคอมทีเสะ
( แต่ชั้นว่าพวกแกมะมีชัวร์ - -" ) ไม่งั้นจาได้พิมให้ T^T
ถ้าใจดีเก๊าะสรุปใหม่ก็ได้นะยะ 555+
เพราะของแกมานน้อยสุดๆเรยอ่ะ คิม = . ="
แต่มันเป็นประโยชน์กะชั้นที่จาพิม โหะๆ - - +
To : L a s s i e
เอม แกอย่าลืมส่งเพลงให้ช้านเด่ะ !! - -* มะงั้ลจาโทรไปจิกแกละนะ หึ หึ หึ
อย่าลืมว่าอาทิตย์หน้าสอบครูปุ๊โด้ย
อย่าลืมทำชีทครูชาลีที่ค้างไว้ มะงั้นโดนลบบานแระน๊ะ
อย่าลืมทำพระพุทธ ไว้ก่องจาได้มะลืม
อย่าลืมเรื่องละคร popular language ของ peter
ว่างๆไปนั่งอ่านบล็อกชาวบ้านเรื่อง culture และคิดว่าจะโพสไงไว้ด้วย
ได้ไม่ลำบากในชม.
ท่องศัพท์ เพื่อความปลอดภัยจากน้ำลายพิษ และอาการบ่นของมันด้วยนะ - -*
เตือนด้วยความหวังดีนะจ๊ะ ฮันนี่!! =w=
สุดท้าย .. :: อย่าลืมเพลงชั้นนะโว้ยยยยย = ' ' =
To : EaRaHaR
แบม ฝากส่งลิงค์นี้ให้ครูด้วยจิ กิฟมะมีเมลครูชาลีอ่ะ - 0 -
รึจาค่อยปริ้นส่งวันจันทร์ แบบรวมแล้ว เอายังไงกะโพสบอกไม่ก็โทรมาได้น๊ะ
แล้วเรื่องจักรวาลๆนั่น ชั้นมะรุ้วจะหาไงอ่ะ ยังไงแกว่างแกฝากลงด้วยละกาน
จุลินทรีย์ ชั้นหาไว้ให้บ้างและ = w =To : w h i $ k ¥ & Peter
เจน กะ คิม แกมีที่แกสรุปที่บ้านป่าวอ่ะ ที่แกเอาให้ชั้นมา ถ้ามีพิมลงคอมทีเสะ
( แต่ชั้นว่าพวกแกมะมีชัวร์ - -" ) ไม่งั้นจาได้พิมให้ T^T
ถ้าใจดีเก๊าะสรุปใหม่ก็ได้นะยะ 555+
เพราะของแกมานน้อยสุดๆเรยอ่ะ คิม = . ="
แต่มันเป็นประโยชน์กะชั้นที่จาพิม โหะๆ - - +
To : L a s s i e
เอม แกอย่าลืมส่งเพลงให้ช้านเด่ะ !! - -* มะงั้ลจาโทรไปจิกแกละนะ หึ หึ หึ
อย่าลืมว่าอาทิตย์หน้าสอบครูปุ๊โด้ย
อย่าลืมทำชีทครูชาลีที่ค้างไว้ มะงั้นโดนลบบานแระน๊ะ
อย่าลืมทำพระพุทธ ไว้ก่องจาได้มะลืม
อย่าลืมเรื่องละคร popular language ของ peter
ว่างๆไปนั่งอ่านบล็อกชาวบ้านเรื่อง culture และคิดว่าจะโพสไงไว้ด้วย
ได้ไม่ลำบากในชม.
ท่องศัพท์ เพื่อความปลอดภัยจากน้ำลายพิษ และอาการบ่นของมันด้วยนะ - -*
เตือนด้วยความหวังดีนะจ๊ะ ฮันนี่!! =w=
สุดท้าย .. :: อย่าลืมเพลงชั้นนะโว้ยยยยย = ' ' =
*::.. || ประเภทของจุลินทรีย์ || ..::*
จุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ประกอบด้วย Unicellular หรือ Multicellular ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เพื่อทำหน้าที่เฉพาะเหมือนในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง
Prokaryote cell Bacteria , Cyanobacteria, Eukaryote cell Fungi , Protozoa , Algae
• Bacteria เป็นโปรคารีโอต ที่ประกอบด้วยเซลล์เดียว มีผนังหุ้มคงรูป รูปร่างหลายแบบ เช่น รูปแท่ง รูปกลม สืบพันธ์ทั้งแบบมีเพศ (Conjugation) และไม่มีเพศ (Binary fission, Budding) พบได้ทั่วไปเช่น Escherichia coli, Staphylococcus spp. , Streptococcus spp.
• Fungi เป็นยูคารีโอต มีทั้งเซลล์เดี่ยว (Yeast) สืบพันธุ์โดย Budding และหลายเซลล์ (Mold) มีรูปร่างเป็น Filamentous ส่วนของเส้นใยเรียก Hyphae ถ้ามาอยู่รวมกลุ่มกันเรียกว่า Mycelium เส้นใยมีทั้งมีผนังกั้นและไม่มี ผนังเซลล์ต่างจากของแบคทีเรีย ราบางชนิดมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (Mushroom) ราทุกชนิดต้องการอากาศ เจริญได้ดีในที่มีความเป็นกรดสูง สืบพันธุ์ทั้งแบบมีเพศ และไม่มีเพศ ตัวอย่างเช่น Yeast Saccharomyces cerevisiae Mold Aspergillus spp. , Penicillium spp., Mushroom Volvariella volvaceae
• Protozoa เป็นยูคารีโอต มีเซลล์เดียว แต่ไม่มีผนังเซลล์ มีวิวัฒนาการของเซลล์มากที่สุด สืบพันธุ์ทั้งมีเพศและไม่มีเพศ รูปร่างแตกต่างกันมาก เช่น รูปกลม รูปไข่ รูปท่อน กินแบคทีเรียเป็นอาหาร เคลื่อนที่ได้ในบางช่วงของชีวิต มี 3 แบบ คือ 1. Pseudopodium ซึ่งเกิดจากการยืดหดของไซโตพลาสซึมเรียก Ameboid movement เช่น Amoeba 2. Flagella เช่น Euglena 3. Cilia เช่น Paramecium
• Algae เป็นยูคารีโอต มีทั้งเซลล์เดียวและหลายเซลล์ รูปร่างแตกต่างกัน เช่น รูปกลม รูปแฉก รูปกระสวย มีคลอโรฟิลล์ สามารถสังเคราะห์แสงได้ ยังมี pigment อื่น ทำให้มีสีต่าง ๆ กันไป พวกที่เคลื่อนที่ได้จะใช้ Flagella หรือ pseudopodium สืบพันธ์ทั้งแบบมีเพศและไม่มีเพศ พบได้ทั่วไปทั้งแหล่งน้ำ ดิน และที่ชื้นแฉะ
• Virus ไม่จัดเป็นเซลล์ โครงสร้างประกอบด้วย DNA หรือ RNA มีโปรตีนเรียก Capsid หุ้มอยู่ บางชนิดอาจมีเยื่อหุ้ม (Envelope) ไม่สามารถอาศัยอยู่อย่างอิสระได้ จัดเป็น Obligate intracellular parasite พบได้ทั่วไป โดยอาศัยอยู่กับสิ่งมีชีวิต
L i n k :: http://csweb.bsru.ac.th/4034104/Detail3.html
------------------------- [ b¥ :: $ a $ k i a ..* ] ----------------
ประเภทของจุลินทรีย์ที่รู้จัก จำแนกได้ 3 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มสร้างสรรค์ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณภาพ มีประมาณ 10 %
2. กลุ่มทำลาย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ ทำให้เกิดโรค มีประมาณ 10 %
3. กลุ่มเป็นกลาง มีประมาณ 80 % จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มที่ทำหน้าที่สนับสนุนหรือร่วมด้วยหากพบว่าจุลินทรีย์ 2 กลุ่มแรก กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีมากกว่า
ดังนั้น การเพิ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณภาพลงในดิน ก็เพื่อให้กลุ่มสร้างสรรค์มีจำนวนมากกว่า ซึ่ง จุลินทรีย์เหล่านี้จะช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินให้กลับมีพลังขึ้นมาอีกหลังจากที่ถูกทำลายด้วยสารเคมีจนดินตายไป ประเภทของ
จุลินทรีย์ จัดแบ่งตามลักษณะความต้องการอากาศ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. ประเภทต้องการอากาศ (Aerobic Bacteria)
2. ประเภทไม่ต้องการอากาศ (Anaerobic Bacteria)จุลินทรีย์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และสามารถอยู่ร่วมกันได้จากการค้นคว้าดังกล่าว ได้มีการนำเอาจุลินทรีย์ที่ได้รับการคัดและเลือกสรรอย่างดีจากธรรมชาติ ที่มีประโยชน์ต่อพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อม มารวมกัน 5 กลุ่ม (Families) 10 จีนัส (Genues) 80 ชนิด (Spicies) ได้แก่
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกเชื้อราที่มีเส้นใย (Filamentous fungi) ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งการย่อยสลาย สามารถทำงานได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจน มีคุณสมบัติต้านทานความร้อนได้ดี ปกติใช้เป็นหัวเชื้อผลิตเหล้า ผลิตปุ๋ยหมัก ฯลฯ
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกสังเคราะห์แสง (Photosynthetic microorganisms) ทำหน้าที่สังเคราะห์สารอินทรีย์ให้แก่ดิน เช่น ไนโตรเจน (N2) กรดอะมิโน (Amino acids) น้ำตาล (Sugar) วิตามิน (Vitamins) ออร์โมน (Hormones) และอื่นๆ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ให้แก่ดิน
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก (Zynogumic or Fermented microorganisms) ทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นให้ดินต้านทานโรค (Diseases resistant) ฯลฯ เข้าสู่วงจรการย่อยสลายได้ดี ช่วยลดการ พังทลายของดิน ป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชบางชนิด ของพืชและสัตว์ สามารถบำบัดมลพิษในน้ำเสียที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษต่างๆ ได้
กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกตรึงไนโตรเจน (Nitrogen fixing microorganisms) มีทั้งพวกที่เป็นสาหร่าย (Algae) และพวกแบคทีเรีย (Bacteria) ทำหน้าที่ตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศเพื่อให้ดินผลิต สารที่เป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต เช่น โปรตีน (Protein) กรดอินทรีย์ (Organic acids) กรดไขมัน (Fatty acids) แป้ง (Starch or Carbohydrates) ฮอร์โมน(Hormones) วิตามิน (Vitamins) ฯลฯ
กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกสร้างกรดแลคติก (Lactic acids) มีประสิทธิภาพในการต่อต้านเชื้อรา และแบคทีเรียที่เป็นโทษ ส่วนใหญ่เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศหายใจ ทำหน้าที่เปลี่ยนสภาพดินเน่าเปื่อย หรือดินก่อโรคให้เป็นดินที่ต้านทานโรค ช่วยลดจำนวนจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรคพืชที่มีจำนวนนับแสน หรือให้หมดไป นอกจากนี้ยังช่วยย่อยสลายเปลือกเมล็ดพันธุ์พืช ช่วยให้เมล็ดงอกได้ดีและแข็งแรงกว่าปกติอีกด้วย
L i n k :: http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=9d32a69343836d3db900d6684c8d7ccf&bookID=258&pageid=3&read=true&count=true
--- [ b¥ :: $ a $ k i a ..* ] ------------------------------------------------
จุลินทรีย์มีบทบาทมากในอุตสาหกรรมเกษตร ทั้งในทางที่ เป็นประโยชน์และในทางที่เกิดโทษ การศึกษาจุลชีววิทยาทางอุตสาห- กรรมเกษตร จึงเป็นพื้นฐานที่จะทำให้เข้าใจบทบาทของจุลินทรีย์ใน อุตสาหกรรมเกษตร และนำไปสู่การประยุกต์อื่นๆ เช่น กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรมเกษตร การควบคุมจุลินทรีย์ที่เป็นโทษไม่ ให้ส่งผลเสียต่อมนุษย์และผลิตภัณฑ์ ตลอดถึงการจัดการของเสียต่างๆ อย่างถูกหลักสุขาภิบาล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของมวลมนุษยชาติ
อันนี้ก็ไปเปิดเอาเองน๊ะ มีอาไรเยอะแยะเรย คิดว่าน่าจะดีเพราะเปงของนักศึกษาปี 1 แน่ะ *0* -
L i n k :: http://www.agro.cmu.ac.th/e_books/602120/E-learning%20HOME%20PAGE%202.html
----------------------------------------------------------------------
โพสไว้แค่นี้น๊ะ
เรื่องจักรวาลแป๊ะๆอาไยนั่น ช้านมะรุ้วววว
ใครรุ้ววก็เอามาลงทีน้อ ~ = w =
Prokaryote cell Bacteria , Cyanobacteria, Eukaryote cell Fungi , Protozoa , Algae
• Bacteria เป็นโปรคารีโอต ที่ประกอบด้วยเซลล์เดียว มีผนังหุ้มคงรูป รูปร่างหลายแบบ เช่น รูปแท่ง รูปกลม สืบพันธ์ทั้งแบบมีเพศ (Conjugation) และไม่มีเพศ (Binary fission, Budding) พบได้ทั่วไปเช่น Escherichia coli, Staphylococcus spp. , Streptococcus spp.
• Fungi เป็นยูคารีโอต มีทั้งเซลล์เดี่ยว (Yeast) สืบพันธุ์โดย Budding และหลายเซลล์ (Mold) มีรูปร่างเป็น Filamentous ส่วนของเส้นใยเรียก Hyphae ถ้ามาอยู่รวมกลุ่มกันเรียกว่า Mycelium เส้นใยมีทั้งมีผนังกั้นและไม่มี ผนังเซลล์ต่างจากของแบคทีเรีย ราบางชนิดมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (Mushroom) ราทุกชนิดต้องการอากาศ เจริญได้ดีในที่มีความเป็นกรดสูง สืบพันธุ์ทั้งแบบมีเพศ และไม่มีเพศ ตัวอย่างเช่น Yeast Saccharomyces cerevisiae Mold Aspergillus spp. , Penicillium spp., Mushroom Volvariella volvaceae
• Protozoa เป็นยูคารีโอต มีเซลล์เดียว แต่ไม่มีผนังเซลล์ มีวิวัฒนาการของเซลล์มากที่สุด สืบพันธุ์ทั้งมีเพศและไม่มีเพศ รูปร่างแตกต่างกันมาก เช่น รูปกลม รูปไข่ รูปท่อน กินแบคทีเรียเป็นอาหาร เคลื่อนที่ได้ในบางช่วงของชีวิต มี 3 แบบ คือ 1. Pseudopodium ซึ่งเกิดจากการยืดหดของไซโตพลาสซึมเรียก Ameboid movement เช่น Amoeba 2. Flagella เช่น Euglena 3. Cilia เช่น Paramecium
• Algae เป็นยูคารีโอต มีทั้งเซลล์เดียวและหลายเซลล์ รูปร่างแตกต่างกัน เช่น รูปกลม รูปแฉก รูปกระสวย มีคลอโรฟิลล์ สามารถสังเคราะห์แสงได้ ยังมี pigment อื่น ทำให้มีสีต่าง ๆ กันไป พวกที่เคลื่อนที่ได้จะใช้ Flagella หรือ pseudopodium สืบพันธ์ทั้งแบบมีเพศและไม่มีเพศ พบได้ทั่วไปทั้งแหล่งน้ำ ดิน และที่ชื้นแฉะ
• Virus ไม่จัดเป็นเซลล์ โครงสร้างประกอบด้วย DNA หรือ RNA มีโปรตีนเรียก Capsid หุ้มอยู่ บางชนิดอาจมีเยื่อหุ้ม (Envelope) ไม่สามารถอาศัยอยู่อย่างอิสระได้ จัดเป็น Obligate intracellular parasite พบได้ทั่วไป โดยอาศัยอยู่กับสิ่งมีชีวิต
L i n k :: http://csweb.bsru.ac.th/4034104/Detail3.html
------------------------- [ b¥ :: $ a $ k i a ..* ] ----------------
ประเภทของจุลินทรีย์ที่รู้จัก จำแนกได้ 3 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มสร้างสรรค์ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณภาพ มีประมาณ 10 %
2. กลุ่มทำลาย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ ทำให้เกิดโรค มีประมาณ 10 %
3. กลุ่มเป็นกลาง มีประมาณ 80 % จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มที่ทำหน้าที่สนับสนุนหรือร่วมด้วยหากพบว่าจุลินทรีย์ 2 กลุ่มแรก กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีมากกว่า
ดังนั้น การเพิ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณภาพลงในดิน ก็เพื่อให้กลุ่มสร้างสรรค์มีจำนวนมากกว่า ซึ่ง จุลินทรีย์เหล่านี้จะช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินให้กลับมีพลังขึ้นมาอีกหลังจากที่ถูกทำลายด้วยสารเคมีจนดินตายไป ประเภทของ
จุลินทรีย์ จัดแบ่งตามลักษณะความต้องการอากาศ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. ประเภทต้องการอากาศ (Aerobic Bacteria)
2. ประเภทไม่ต้องการอากาศ (Anaerobic Bacteria)จุลินทรีย์ทั้ง 2 กลุ่มนี้ ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และสามารถอยู่ร่วมกันได้จากการค้นคว้าดังกล่าว ได้มีการนำเอาจุลินทรีย์ที่ได้รับการคัดและเลือกสรรอย่างดีจากธรรมชาติ ที่มีประโยชน์ต่อพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อม มารวมกัน 5 กลุ่ม (Families) 10 จีนัส (Genues) 80 ชนิด (Spicies) ได้แก่
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกเชื้อราที่มีเส้นใย (Filamentous fungi) ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งการย่อยสลาย สามารถทำงานได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจน มีคุณสมบัติต้านทานความร้อนได้ดี ปกติใช้เป็นหัวเชื้อผลิตเหล้า ผลิตปุ๋ยหมัก ฯลฯ
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกสังเคราะห์แสง (Photosynthetic microorganisms) ทำหน้าที่สังเคราะห์สารอินทรีย์ให้แก่ดิน เช่น ไนโตรเจน (N2) กรดอะมิโน (Amino acids) น้ำตาล (Sugar) วิตามิน (Vitamins) ออร์โมน (Hormones) และอื่นๆ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ให้แก่ดิน
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก (Zynogumic or Fermented microorganisms) ทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นให้ดินต้านทานโรค (Diseases resistant) ฯลฯ เข้าสู่วงจรการย่อยสลายได้ดี ช่วยลดการ พังทลายของดิน ป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชบางชนิด ของพืชและสัตว์ สามารถบำบัดมลพิษในน้ำเสียที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษต่างๆ ได้
กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกตรึงไนโตรเจน (Nitrogen fixing microorganisms) มีทั้งพวกที่เป็นสาหร่าย (Algae) และพวกแบคทีเรีย (Bacteria) ทำหน้าที่ตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศเพื่อให้ดินผลิต สารที่เป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต เช่น โปรตีน (Protein) กรดอินทรีย์ (Organic acids) กรดไขมัน (Fatty acids) แป้ง (Starch or Carbohydrates) ฮอร์โมน(Hormones) วิตามิน (Vitamins) ฯลฯ
กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์พวกสร้างกรดแลคติก (Lactic acids) มีประสิทธิภาพในการต่อต้านเชื้อรา และแบคทีเรียที่เป็นโทษ ส่วนใหญ่เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศหายใจ ทำหน้าที่เปลี่ยนสภาพดินเน่าเปื่อย หรือดินก่อโรคให้เป็นดินที่ต้านทานโรค ช่วยลดจำนวนจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรคพืชที่มีจำนวนนับแสน หรือให้หมดไป นอกจากนี้ยังช่วยย่อยสลายเปลือกเมล็ดพันธุ์พืช ช่วยให้เมล็ดงอกได้ดีและแข็งแรงกว่าปกติอีกด้วย
L i n k :: http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=9d32a69343836d3db900d6684c8d7ccf&bookID=258&pageid=3&read=true&count=true
--- [ b¥ :: $ a $ k i a ..* ] ------------------------------------------------
จุลินทรีย์มีบทบาทมากในอุตสาหกรรมเกษตร ทั้งในทางที่ เป็นประโยชน์และในทางที่เกิดโทษ การศึกษาจุลชีววิทยาทางอุตสาห- กรรมเกษตร จึงเป็นพื้นฐานที่จะทำให้เข้าใจบทบาทของจุลินทรีย์ใน อุตสาหกรรมเกษตร และนำไปสู่การประยุกต์อื่นๆ เช่น กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรมเกษตร การควบคุมจุลินทรีย์ที่เป็นโทษไม่ ให้ส่งผลเสียต่อมนุษย์และผลิตภัณฑ์ ตลอดถึงการจัดการของเสียต่างๆ อย่างถูกหลักสุขาภิบาล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของมวลมนุษยชาติ
อันนี้ก็ไปเปิดเอาเองน๊ะ มีอาไรเยอะแยะเรย คิดว่าน่าจะดีเพราะเปงของนักศึกษาปี 1 แน่ะ *0* -
L i n k :: http://www.agro.cmu.ac.th/e_books/602120/E-learning%20HOME%20PAGE%202.html
----------------------------------------------------------------------
โพสไว้แค่นี้น๊ะ
เรื่องจักรวาลแป๊ะๆอาไยนั่น ช้านมะรุ้วววว
ใครรุ้ววก็เอามาลงทีน้อ ~ = w =
จุลินทรีย์ คือ อาไย ?? = w =
มีหลายเว็บนะแก .. ชั้นขยัน เว้ย !! 555+
ว่างๆกะอ่านกันนะ เอามาลงให้และ อิๆ
---------------------------------------------------- [ b¥ : : $ a $ k i a .. * ] -----
จุลินทรีย์ คือ สิ่งมีชีวิตเล็กๆที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นจนกว่ามันจะเกาะกลุ่มกัน จุลินทรีย์มีอยู่ในธรรมชาติ ทั้งในน้ำ ในอากาศและในดิน มีทั้งที่เป็นอันตรายต่อการทำให้เกิดโรคกับพืช มนุษย์ สัตว์และที่เป็นประโยชน์ในการสร้างสารปฏิชีวนะทางการแพทย์
บทบาทตามธรรมชาติของจุลินทรีย์ คือ ผู้ย่อยสลาย โดยจุลินทรีย์จะเป็นตัวการทำให้ทุกอย่างที่มาจากพืชและสัตว์เน่าเปื่อย ผุพัง แหลกละเอียดจนไม่เหลือซาก กลายเป็นดินที่ยังคงมีธาตุอาหารซึ่งเคยมีอยู่ก่อนการย่อยสลาย ธาตุอาหารนี้จะละลายน้ำได้และรากพืชจะดูดกลับไปเลี้ยงต้นไม้ให้เกจริญเติบโตงอกงามอีกครั้ง
จาก :: http://pda.tarad.com/organicthailand/?trd=webboard&cat=1278&id=35690
-------- [ b¥ : : $ a $ k i a .. * ] -------------------------------------
จุลินทรีย์ คือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ส่วนมากมีเซลล์เดียว จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับนมได้แก่
๑. แบคทีเรีย เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ในสภาพแวดล้อมที่ไม่สะอาด และในอุณหภูมิประมาณ ๑๕ ํ ซ. แบคทีเรียที่เติบโตได้ในนม ได้แก่ แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลคติก กรดบิวทีริก (buteric acid) และกรดโพรพีโอนิก (propeonic acid) และแบคทีเรียที่ทำให้นมเน่าเสีย และมีกลิ่นเหม็น
๒. ยีสต์ ทำลายคุณภาพของอาหารนม แต่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมขนมปัง สุรา และไวน์ ในการผลิตผลิตภัณฑ์นม ต้องควบคุมการเจริญเติบโตของยีสต์ โดยใช้ความร้อนสูงกว่า ๔๗ ํ ซ.
๓. รา จะถูกทำลายโดยการฆ่าเชื้อแบบพาสเจอร์ไรส์ มีประโยชน์ในการผลิตเนยแข็ง
๔. ไวรัส ได้แก่แบคทีริโอฟาจ (bacteriophage) ไม่ทำให้นมเสื่อมคุณภาพ แต่เป็นตัวทำลายแบคทีเรียที่ใช้ในการแปรรูปนม เช่น นมเปรี้ยว เนยแข็ง ดังนั้นจึงต้องทำลายไวรัสชนิดนี้ โดยใช้ความร้อน และการเพิ่มความเป็นกรดของผลิตภัณฑ์อย่างรวดเร็ว
จะเห็นว่าจุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตได้ดีในน้ำนม มีทั้งชนิดที่เป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ หรือบางชนิดอาจให้โทษต่อร่างกายมนุษย์ อุตสาหกรรมนมที่ใช้จุลินทรีย์ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ เช่น
อุตสาหกรรมการทำเนยแข็ง (Cheese) ซึ่งต้องใช้จุลินทรีย์ในการเปลี่ยนแปลงทางเอนไซม์ รสชาติและกายสมบัติของเนยแข็งส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนรูปองค์ประกอบของน้ำนมโดยจุลินทรีย์
การทำเนย (Butter) โดยการใช้แบคทีเรียหลายชนิดรวมกัน ทำให้เนยมีรสอร่อยและมีกลิ่นหอมชวนรับ
ประทาน
การผลิตนมเปรี้ยวชนิดต่างๆ เช่น โยเกิร์ต (Yoghurt) ก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ชนิดที่สามารถทำให้เกิดกรดและเกิดรสที่ตัองการด้วย
จาก : : http://kanchanapisek.or.th/kp1/data/37/che_015.htm
-- [ $ a $ k i a .. *::.. อ่านกัลเข้าปัย - 0 - ]-------------------------
อันนี้กะดีนะ แต่ขี้เกียจก๊อปมา มานมีรุปโด้ย แกไปเปิดดูกันเอาน้อ ::
http://www.noknoi.com/magazine/series.php?id=1516 :: ตอนที่ 1
http://www.noknoi.com/magazine/series.php?id=1518 :: ตอนที่2
หลายๆเว็บก็บอกเหมือนๆกัน ประเภทของจุลินทรีย์จาเอามาลงทีหลังน้า ~*
ว่างๆกะอ่านกันนะ เอามาลงให้และ อิๆ
---------------------------------------------------- [ b¥ : : $ a $ k i a .. * ] -----
จุลินทรีย์ คือ สิ่งมีชีวิตเล็กๆที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นจนกว่ามันจะเกาะกลุ่มกัน จุลินทรีย์มีอยู่ในธรรมชาติ ทั้งในน้ำ ในอากาศและในดิน มีทั้งที่เป็นอันตรายต่อการทำให้เกิดโรคกับพืช มนุษย์ สัตว์และที่เป็นประโยชน์ในการสร้างสารปฏิชีวนะทางการแพทย์
บทบาทตามธรรมชาติของจุลินทรีย์ คือ ผู้ย่อยสลาย โดยจุลินทรีย์จะเป็นตัวการทำให้ทุกอย่างที่มาจากพืชและสัตว์เน่าเปื่อย ผุพัง แหลกละเอียดจนไม่เหลือซาก กลายเป็นดินที่ยังคงมีธาตุอาหารซึ่งเคยมีอยู่ก่อนการย่อยสลาย ธาตุอาหารนี้จะละลายน้ำได้และรากพืชจะดูดกลับไปเลี้ยงต้นไม้ให้เกจริญเติบโตงอกงามอีกครั้ง
จาก :: http://pda.tarad.com/organicthailand/?trd=webboard&cat=1278&id=35690
-------- [ b¥ : : $ a $ k i a .. * ] -------------------------------------
จุลินทรีย์ คือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ส่วนมากมีเซลล์เดียว จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับนมได้แก่
๑. แบคทีเรีย เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ในสภาพแวดล้อมที่ไม่สะอาด และในอุณหภูมิประมาณ ๑๕ ํ ซ. แบคทีเรียที่เติบโตได้ในนม ได้แก่ แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลคติก กรดบิวทีริก (buteric acid) และกรดโพรพีโอนิก (propeonic acid) และแบคทีเรียที่ทำให้นมเน่าเสีย และมีกลิ่นเหม็น
๒. ยีสต์ ทำลายคุณภาพของอาหารนม แต่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมขนมปัง สุรา และไวน์ ในการผลิตผลิตภัณฑ์นม ต้องควบคุมการเจริญเติบโตของยีสต์ โดยใช้ความร้อนสูงกว่า ๔๗ ํ ซ.
๓. รา จะถูกทำลายโดยการฆ่าเชื้อแบบพาสเจอร์ไรส์ มีประโยชน์ในการผลิตเนยแข็ง
๔. ไวรัส ได้แก่แบคทีริโอฟาจ (bacteriophage) ไม่ทำให้นมเสื่อมคุณภาพ แต่เป็นตัวทำลายแบคทีเรียที่ใช้ในการแปรรูปนม เช่น นมเปรี้ยว เนยแข็ง ดังนั้นจึงต้องทำลายไวรัสชนิดนี้ โดยใช้ความร้อน และการเพิ่มความเป็นกรดของผลิตภัณฑ์อย่างรวดเร็ว
จะเห็นว่าจุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตได้ดีในน้ำนม มีทั้งชนิดที่เป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ หรือบางชนิดอาจให้โทษต่อร่างกายมนุษย์ อุตสาหกรรมนมที่ใช้จุลินทรีย์ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ เช่น
อุตสาหกรรมการทำเนยแข็ง (Cheese) ซึ่งต้องใช้จุลินทรีย์ในการเปลี่ยนแปลงทางเอนไซม์ รสชาติและกายสมบัติของเนยแข็งส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนรูปองค์ประกอบของน้ำนมโดยจุลินทรีย์
การทำเนย (Butter) โดยการใช้แบคทีเรียหลายชนิดรวมกัน ทำให้เนยมีรสอร่อยและมีกลิ่นหอมชวนรับ
ประทาน
การผลิตนมเปรี้ยวชนิดต่างๆ เช่น โยเกิร์ต (Yoghurt) ก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ชนิดที่สามารถทำให้เกิดกรดและเกิดรสที่ตัองการด้วย
จาก : : http://kanchanapisek.or.th/kp1/data/37/che_015.htm
-- [ $ a $ k i a .. *::.. อ่านกัลเข้าปัย - 0 - ]-------------------------
อันนี้กะดีนะ แต่ขี้เกียจก๊อปมา มานมีรุปโด้ย แกไปเปิดดูกันเอาน้อ ::
http://www.noknoi.com/magazine/series.php?id=1516 :: ตอนที่ 1
http://www.noknoi.com/magazine/series.php?id=1518 :: ตอนที่2
หลายๆเว็บก็บอกเหมือนๆกัน ประเภทของจุลินทรีย์จาเอามาลงทีหลังน้า ~*
วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2550
mainหลัก *~
เราคิดว่าการที่เราสามารถ นำสิ่งเหลือใช้ หรือสิ่งไร้ค่า ไปใช้ให้เกิดประโยชน์นั้นคงเป็นการดี แก๊สชีวภาพคงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ดี ในการกำจัดขยะที่เป็นสารอินทรีย์
โรงเรียนของเรา จากที่เห็นกันว่ามี เศษอาหาร เศษใบไม้มากมายให้กำจัดทิ้ง แม้ว่าจะมีวิธีมากมายในการย่อยสลายขยะเหล่านี้ เช่น การเผา(สร้างCO2) การทำปุ๋ย แม้ว่าการหมักปุ๋ยจะเป็นวิธีที่น่าสนใจและมีประโยชน์ แต่ยังมีวิธีกำจัดขยะเหล่านี้ที่น่าสนใจยิ่งกว่า นั้นก็คือ “การหมักแก๊สชีวภาพ” ซึ่งได้ผลประโยชน์มากกว่าการหมักปุ๋ยธรรมดา คือนอกจากได้ปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพ แล้วยังได้พลังงานทางเลือก อย่างแก๊สชีวภาพมาอีกด้วย
....................................
มันสั้นง่ะ
โทษนะ คิดออกได้แค่นี้
โรงเรียนของเรา จากที่เห็นกันว่ามี เศษอาหาร เศษใบไม้มากมายให้กำจัดทิ้ง แม้ว่าจะมีวิธีมากมายในการย่อยสลายขยะเหล่านี้ เช่น การเผา(สร้างCO2) การทำปุ๋ย แม้ว่าการหมักปุ๋ยจะเป็นวิธีที่น่าสนใจและมีประโยชน์ แต่ยังมีวิธีกำจัดขยะเหล่านี้ที่น่าสนใจยิ่งกว่า นั้นก็คือ “การหมักแก๊สชีวภาพ” ซึ่งได้ผลประโยชน์มากกว่าการหมักปุ๋ยธรรมดา คือนอกจากได้ปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพ แล้วยังได้พลังงานทางเลือก อย่างแก๊สชีวภาพมาอีกด้วย
....................................
มันสั้นง่ะ
โทษนะ คิดออกได้แค่นี้
Mainหลัก Again...?
เราคงรู้กันอยู่ว่าปัจจุบันโลกของเรานี้ กำลังประสบกับปัญหาใหญ่ จากทั้งข่าวสารต่างๆรอบตัวของเราและจากการเรียนรู้ภายในห้องเรียน โลกของเราใบนี้กำลังเข้าสู่ช่วงหายนะ ห่างไปจากความเป็นปกติที่เคยเป็นอยู่ไกลออกไปทุกที เราจะเห็นได้จากสภาพอากาศ อุณหภูมิ และภัยธรรมชาติต่างๆ ที่เราประสบกันอยู่บ่อยๆครั้ง โดยสาเหตุหลักของปัญหาเหล่านี้คือ การที่อุณหภูมิโลกร้อนขึ้น หรือที่เราเรียกกันว่าภาวะโลกร้อนนั่นเอง
ภาวะนี้เกิดมาจากการที่ ปรากฏการณ์เรือนกระจก ที่คอยห่อหุ้มกักเก็บความร้อนของโลก ซึ่งทำให้โลกไม่กลายเป็นดวงดาวน้ำแข็งนั้นมีมากเกินไป ทำให้ความร้อนถูกกักเก็บมากเกินไป อุณหภูมิโลกจึงร้อนขึ้นเรื่อย โดย ภาวะเรื่อนกระจกนั้นเกิดจากการที่มีแก๊สเรือนกระจก(CO2 CH4 CFC N2O) อยู่ในชั้นบรรยากาศนั้นเอง และกิจกรรมต่างๆของมนุษย์คือสิ่งที่สร้างแก๊สเรื่อนกระจก
แก๊สเรือนกระจกที่ส่งผลต่ออุณหภูมิโลกอย่างเด่นชัดคือCO2 ที่เกิดมาจากการเผาไหม้ของสารHydrocarbon ซึ่งล้วนแต่เป็นแหล่งพลังงานที่มนุษย์ใช้ เช่นน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ การใช้ถ่านหินในการผลิตไฟฟ้า เป็นต้น เราจะเห็นว่ากิจกรรมการใช้พลังงานของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสภาวะแวดล้อมเป็นอย่างมาก อีกทั้งพลังงานหลักที่มนุษย์ใช้อยู่นั้นเป็นสิ่งที่ธรรมชาติใช้เวลาเนินนานในการก่อตัวขึ้น แต่มนุษย์กลับใช้พลังงานเหล่านี้อย่างฟุ่มเฟือย และพลังงานหลังเหล่านี้คงจะหมดลงในไม่ช้า
พลังงานทางเลือกจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าศึกษาเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในอนาคตเป็นอย่างมาก Biogas เป็นพลังงานทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ ด้วยเพราะมีข้อดีในหลายๆด้าน กรรมวิธีในการทำBiogasนั้นคือการหมัก ให้จูลินทรีย์ย่อยสารอินทรีย์โดยไม่มีO2 นั่นเอง โดยBiogasสามารถใช้ในการหุงต้ม ผลิตไฟฟ้าได้และกากที่เหลือจากการหมักเองก็ถือเป็นปุ๋ยอย่างดีอีกด้วย และสิ่งที่ใช้ผลิตBiogasเองก็เป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการแล้วหรือขยะนั่นเอง ถือเป็นการช่วยโลกในการลดแก๊สเรือนกระจก ลดCH4จากการย่อยสลายสารอินทรีย์ ลดการเกิดCO2จากการเผาขยะ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีที่ทำลายความสมดุลของดิน และช่วยลดการผลิตไฟฟ้าอีกด้วย
โรงเรียนของเราเอง เห็นกันอยู่ว่ามี เศษอาหาร เศษใบไม้มากมายให้กำจัดทิ้ง แม้ว่าจะมีวิธีมากมายในการย่อยสลายขยะเหล่านี้ เช่น การเผา(สร้างCO2) การทำปุ๋ย (สร้าง CH4) เราจึงคิดเห็นกันว่าการนำสิ่งเหล่านี้มาทำBiogas คงเป็นทางที่ให้ผลประโยชน์ได้มากที่สุด และคิดกันไว้ว่าBiogasที่ได้คาดว่าจะนำไปใช้ในการหุงต้ม ประกอบการทำอาหารในโรงเรียน
นอกจากส่งผลประโยชน์รอบด้านแล้วกับตัวเราเอง Biogasเองก็เป็นสื่อนำเราเข้าสู่การเรียนรู้ได้ด้วยเช่นกัน เช่น เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ เรื่องเกี่ยวกับจูลินทรีย์ เรื่องปริมาณgas ความดัน และพลังงาน ทั้งยังเป็นการสร้างจิตสำนึก ปลูกฝังความคิดในการรับผิดชอบในสิ่งที่ตนกระทำอีกด้วย
ภาวะนี้เกิดมาจากการที่ ปรากฏการณ์เรือนกระจก ที่คอยห่อหุ้มกักเก็บความร้อนของโลก ซึ่งทำให้โลกไม่กลายเป็นดวงดาวน้ำแข็งนั้นมีมากเกินไป ทำให้ความร้อนถูกกักเก็บมากเกินไป อุณหภูมิโลกจึงร้อนขึ้นเรื่อย โดย ภาวะเรื่อนกระจกนั้นเกิดจากการที่มีแก๊สเรือนกระจก(CO2 CH4 CFC N2O) อยู่ในชั้นบรรยากาศนั้นเอง และกิจกรรมต่างๆของมนุษย์คือสิ่งที่สร้างแก๊สเรื่อนกระจก
แก๊สเรือนกระจกที่ส่งผลต่ออุณหภูมิโลกอย่างเด่นชัดคือCO2 ที่เกิดมาจากการเผาไหม้ของสารHydrocarbon ซึ่งล้วนแต่เป็นแหล่งพลังงานที่มนุษย์ใช้ เช่นน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ การใช้ถ่านหินในการผลิตไฟฟ้า เป็นต้น เราจะเห็นว่ากิจกรรมการใช้พลังงานของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสภาวะแวดล้อมเป็นอย่างมาก อีกทั้งพลังงานหลักที่มนุษย์ใช้อยู่นั้นเป็นสิ่งที่ธรรมชาติใช้เวลาเนินนานในการก่อตัวขึ้น แต่มนุษย์กลับใช้พลังงานเหล่านี้อย่างฟุ่มเฟือย และพลังงานหลังเหล่านี้คงจะหมดลงในไม่ช้า
พลังงานทางเลือกจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าศึกษาเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในอนาคตเป็นอย่างมาก Biogas เป็นพลังงานทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ ด้วยเพราะมีข้อดีในหลายๆด้าน กรรมวิธีในการทำBiogasนั้นคือการหมัก ให้จูลินทรีย์ย่อยสารอินทรีย์โดยไม่มีO2 นั่นเอง โดยBiogasสามารถใช้ในการหุงต้ม ผลิตไฟฟ้าได้และกากที่เหลือจากการหมักเองก็ถือเป็นปุ๋ยอย่างดีอีกด้วย และสิ่งที่ใช้ผลิตBiogasเองก็เป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการแล้วหรือขยะนั่นเอง ถือเป็นการช่วยโลกในการลดแก๊สเรือนกระจก ลดCH4จากการย่อยสลายสารอินทรีย์ ลดการเกิดCO2จากการเผาขยะ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีที่ทำลายความสมดุลของดิน และช่วยลดการผลิตไฟฟ้าอีกด้วย
โรงเรียนของเราเอง เห็นกันอยู่ว่ามี เศษอาหาร เศษใบไม้มากมายให้กำจัดทิ้ง แม้ว่าจะมีวิธีมากมายในการย่อยสลายขยะเหล่านี้ เช่น การเผา(สร้างCO2) การทำปุ๋ย (สร้าง CH4) เราจึงคิดเห็นกันว่าการนำสิ่งเหล่านี้มาทำBiogas คงเป็นทางที่ให้ผลประโยชน์ได้มากที่สุด และคิดกันไว้ว่าBiogasที่ได้คาดว่าจะนำไปใช้ในการหุงต้ม ประกอบการทำอาหารในโรงเรียน
นอกจากส่งผลประโยชน์รอบด้านแล้วกับตัวเราเอง Biogasเองก็เป็นสื่อนำเราเข้าสู่การเรียนรู้ได้ด้วยเช่นกัน เช่น เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ เรื่องเกี่ยวกับจูลินทรีย์ เรื่องปริมาณgas ความดัน และพลังงาน ทั้งยังเป็นการสร้างจิตสำนึก ปลูกฝังความคิดในการรับผิดชอบในสิ่งที่ตนกระทำอีกด้วย
Main ..[2] by $a$kia *
โลก.. ไม่สามารถหาความแน่นอนได้ว่า จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อไหร่และอย่างไร หลายปีมาแล้ว ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองโดยปราศจากการคิดคำนึงถึงเหตุที่จะเกิดในภายภาคหน้า หรือความสำคัญของธรรมชาติ อย่างที่ใครคนหนึ่งเคยกล่าวไว้ โลกในเวลานี้คือเวลาที่จะรับผลจากการกระทำในอดีต โดยไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้เกิดความแปรปรวนได้เลย ที่ทำได้มีเพียงการชะลอให้ภัยพิบัติเกิดขึ้นช้าลงเท่านั้น
พลังงานถูกใช้อย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการหวนคืนสู่ธรรมชาติ ใช้แล้วก็หมดไป หลายสิ่งหลายอย่างถูกนำไปใช้และเมื่อใช้เสร็จแล้วก็ถูกมองว่าเป็นขยะไร้ค่าอย่างหนึ่งเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว สิ่งไร้ค่าหรือขยะเหล่านั้นยังคงสามารถนำมาใช้ได้ เพียงแต่ต้องผ่านกระบวนการที่ยุ่งยากและอาศัยความพิถีพิถันในการทำ ทกให้หลายกลุ่มคนเลือกที่จะปล่อยให้สิ่งไร้ค่าที่ยังคงสามารถเปลี่ยนมาใช้ได้ให้เป็นสิ่งไม่ได้ไร้ค่านั้นเป็นสิ่งไร้ค่าเช่นเดิม เนื่องด้วยความไม่รู้หรือความมักง่ายก็ไม่อาจทราบได้
ก๊าซชีวภาพ หรือ ไบโอก๊าซ เกิดจากการย่อยสลายของอินทรียวัตถุ โดยมีจุลินทรีย์ทำหน้าที่ช่วยทำหน้าที่ในการย่อยสลายอินทรียวัตถุเหล่านี้ เมื่ออินทรีย์เหล่านี้ย่อยสลายแล้วก็จะเกิด ก๊าซมีเทน ก๊าซคาร์บอนไอออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจน ก๊าซไฮโดรเจน รวมถึงก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์
โดยส่วนใหญ่แล้วก๊าซชีวภาพมักจะมีการทำในผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับฟาร์ม นอกจากจะได้ได้เปลี่ยนจากสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ให้เป็นพลังงานแล้ว ยังได้ปุ๋ยธรรมชาติหลังจากการหมัก และยังสามารถนำไปใช้แทนก๊าซหุงต้มด้วย
ประโยชน์ของก๊าซชีวภาพของสิ่งแวดล้อมเริ่มจากการที่เราจะได้มีทางเลือกอีกทางหนึ่งในการใช้พลังงาน โดยที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และยังได้ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเผาขยะอีกด้วย
ในด้านพลังงาน ไปโอก๊าซสามารถนำมาใช้เป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า และยังสามารถใช้แทนเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์
ในด้านการเกษตร เราสามารถนำกากที่ได้จากการหมักก๊าซชีวภาพ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในได้ทันที และเนื่องด้วยถูกหมักอยู่ในสภาพที่ไร้ออกซิเจนเป็นเวลานาน กากที่เหลือจากการทำก๊าซชีวภาพนี้จึง ปราศจากเมล็ดพันธุ์พืช เชื้อโรคบางชนิด รวมถึงไข่แมลงด้วย
ภายในโรงเรียนรุ่งอรุณเองก็มีเศษอาหารเหลือทังจากตอนกลางวัน และของว่างเป็นจำนวนมาก ด้วยที่ใบไม้รอบโรงเรียนก็มีเยอะ พวกเราจึงเห็นว่าเศษอาหารเหลือเหล่านี้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ด้วยการทำไบโอก๊าซ นอกจากจะได้พลังงาน ยังปุ๋ยที่อุดมไปดวยแร่ธาตุอาหารอีกด้วย
และภายในเทอมนี้เราได้มีโอกาสเรียนเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติรวมทั้งความสำพันธ์เชื่อมโยงของปรากฏการณ์ต่างๆ ภูมิอากาศ และรวมไปถึงเรื่องไฮโดรคาร์บอน ที่สามารถจะนำมาใช้ในการทำโปรเจ็กต์ ให้เกิดความเชื่อมโยงและมีการต่อยอดความรู้ในอนาคตได้ ทั้งทางด้านความรู้ที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง ความรู้ทางด้านข้อมูลที่เป็นวิชาเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา รวมถึงการเติบโต และการพัฒนาศักยภาพในการทำงานให้มีความรับผิดชอบ การรู้จักค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยตนเอง การประยุกต์ และนำทฤษฎีทั้งที่เคยได้เรียนและยังไม่เคยแต่ต้องนำมาศึกษามาใช้กับการทำงาน ได้ร่วมระดมความคิด ถกเถียงถึงปัญหาที่จะต้องเกิดขึ้น คิดอย่างรอบคอบ เรียนรู้ที่จะยอมรับและแก้ไขในสิ่งที่ผิดพลาดผ่านการทำไบโอก๊าซนี้เอง
ในด้านของความรู้.. ขึ้นชื่อว่าการเรียนรู้แล้ว อะไรก็สามารถนำมาเป็นความรู้ได้ ไม่ใช่ว่าจะต้องมาจากทฤษฎีเพียงอย่างเดียว และไม่จำเป็นจะต้องคิดว่าจะสามารถนำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์อะไรในอนาคต แต่ทำให้ต้องคิดว่า ถ้าไม่ได้ทำแล้วในอนาคตจะรู้สึกเสียดายที่ไม่ได้ทำรึเปล่า บางสิ่งบางอย่างอาจเห็นผลในปัจจุบัน และบางสิ่งบางอย่างจะได้เห็นคุณค่าของมันก็ต่อเมื่อเวลาผ่านไปนานแล้ว สิ่งเหล่านี้จะเป็นประสบการณ์ที่สามารถเพิ่มความมั่นใจและลงมือทำได้จริงในภายภาคหน้า
การที่จะต้องนำบทเรียนมาใช้จริง ทำจริง จึงเป็นแรงกระตุ้นอย่างหนึ่งที่ทำให้ผู้ทำต้องเป็นผู้เข้าใจ และแม่นยำจนสามารถนำความรู้นั้นๆมาประยุกต์ใช้กับการทำงานได้
ทั้งความรู้ในการทำก๊าซชีวภาพ และความรู้ที่เกี่ยวกับการทำก๊าซชีวภาพ ซึ่งก็คือ เรื่องของจุลินทรีย์ และการคำนวณในวิชาฟิสิกส์ มาใช้ประกอบด้วย
จึงเห็นเป็นเรื่อง “สำคัญ” ที่จะได้มีความเข้าใจ เกิดการตระหนักถึงคุณค่าของพลังงาน มีการพัฒนาวุฒิภาวะที่ต้องอาศัยความรับผิดชอบเป็นตัวหลักในการทำ โดยที่ไม่ต้องรอให้ใครเตือนหรือคอยบอก เพิ่มศักยภาพในการทำงาน พร้อมทั้งยังได้เรียนเนื้อหาบทเรียนไปพร้อมๆกันด้วย
“ไม่ต้องคิดว่าอะไรที่ทำแล้วจะดีที่สุด และเป็นประโยชน์มากที่สุดในภายภาคหน้า แต่ให้คิดว่า อะไรที่ไม่ได้ทำแล้วจะเสียดายที่สุดในอนาคต ก็จงทำสิ่งนั้น”
พลังงานถูกใช้อย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการหวนคืนสู่ธรรมชาติ ใช้แล้วก็หมดไป หลายสิ่งหลายอย่างถูกนำไปใช้และเมื่อใช้เสร็จแล้วก็ถูกมองว่าเป็นขยะไร้ค่าอย่างหนึ่งเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว สิ่งไร้ค่าหรือขยะเหล่านั้นยังคงสามารถนำมาใช้ได้ เพียงแต่ต้องผ่านกระบวนการที่ยุ่งยากและอาศัยความพิถีพิถันในการทำ ทกให้หลายกลุ่มคนเลือกที่จะปล่อยให้สิ่งไร้ค่าที่ยังคงสามารถเปลี่ยนมาใช้ได้ให้เป็นสิ่งไม่ได้ไร้ค่านั้นเป็นสิ่งไร้ค่าเช่นเดิม เนื่องด้วยความไม่รู้หรือความมักง่ายก็ไม่อาจทราบได้
ก๊าซชีวภาพ หรือ ไบโอก๊าซ เกิดจากการย่อยสลายของอินทรียวัตถุ โดยมีจุลินทรีย์ทำหน้าที่ช่วยทำหน้าที่ในการย่อยสลายอินทรียวัตถุเหล่านี้ เมื่ออินทรีย์เหล่านี้ย่อยสลายแล้วก็จะเกิด ก๊าซมีเทน ก๊าซคาร์บอนไอออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจน ก๊าซไฮโดรเจน รวมถึงก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์
โดยส่วนใหญ่แล้วก๊าซชีวภาพมักจะมีการทำในผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับฟาร์ม นอกจากจะได้ได้เปลี่ยนจากสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ให้เป็นพลังงานแล้ว ยังได้ปุ๋ยธรรมชาติหลังจากการหมัก และยังสามารถนำไปใช้แทนก๊าซหุงต้มด้วย
ประโยชน์ของก๊าซชีวภาพของสิ่งแวดล้อมเริ่มจากการที่เราจะได้มีทางเลือกอีกทางหนึ่งในการใช้พลังงาน โดยที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และยังได้ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเผาขยะอีกด้วย
ในด้านพลังงาน ไปโอก๊าซสามารถนำมาใช้เป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า และยังสามารถใช้แทนเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์
ในด้านการเกษตร เราสามารถนำกากที่ได้จากการหมักก๊าซชีวภาพ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในได้ทันที และเนื่องด้วยถูกหมักอยู่ในสภาพที่ไร้ออกซิเจนเป็นเวลานาน กากที่เหลือจากการทำก๊าซชีวภาพนี้จึง ปราศจากเมล็ดพันธุ์พืช เชื้อโรคบางชนิด รวมถึงไข่แมลงด้วย
ภายในโรงเรียนรุ่งอรุณเองก็มีเศษอาหารเหลือทังจากตอนกลางวัน และของว่างเป็นจำนวนมาก ด้วยที่ใบไม้รอบโรงเรียนก็มีเยอะ พวกเราจึงเห็นว่าเศษอาหารเหลือเหล่านี้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ด้วยการทำไบโอก๊าซ นอกจากจะได้พลังงาน ยังปุ๋ยที่อุดมไปดวยแร่ธาตุอาหารอีกด้วย
และภายในเทอมนี้เราได้มีโอกาสเรียนเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติรวมทั้งความสำพันธ์เชื่อมโยงของปรากฏการณ์ต่างๆ ภูมิอากาศ และรวมไปถึงเรื่องไฮโดรคาร์บอน ที่สามารถจะนำมาใช้ในการทำโปรเจ็กต์ ให้เกิดความเชื่อมโยงและมีการต่อยอดความรู้ในอนาคตได้ ทั้งทางด้านความรู้ที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง ความรู้ทางด้านข้อมูลที่เป็นวิชาเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา รวมถึงการเติบโต และการพัฒนาศักยภาพในการทำงานให้มีความรับผิดชอบ การรู้จักค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมด้วยตนเอง การประยุกต์ และนำทฤษฎีทั้งที่เคยได้เรียนและยังไม่เคยแต่ต้องนำมาศึกษามาใช้กับการทำงาน ได้ร่วมระดมความคิด ถกเถียงถึงปัญหาที่จะต้องเกิดขึ้น คิดอย่างรอบคอบ เรียนรู้ที่จะยอมรับและแก้ไขในสิ่งที่ผิดพลาดผ่านการทำไบโอก๊าซนี้เอง
ในด้านของความรู้.. ขึ้นชื่อว่าการเรียนรู้แล้ว อะไรก็สามารถนำมาเป็นความรู้ได้ ไม่ใช่ว่าจะต้องมาจากทฤษฎีเพียงอย่างเดียว และไม่จำเป็นจะต้องคิดว่าจะสามารถนำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์อะไรในอนาคต แต่ทำให้ต้องคิดว่า ถ้าไม่ได้ทำแล้วในอนาคตจะรู้สึกเสียดายที่ไม่ได้ทำรึเปล่า บางสิ่งบางอย่างอาจเห็นผลในปัจจุบัน และบางสิ่งบางอย่างจะได้เห็นคุณค่าของมันก็ต่อเมื่อเวลาผ่านไปนานแล้ว สิ่งเหล่านี้จะเป็นประสบการณ์ที่สามารถเพิ่มความมั่นใจและลงมือทำได้จริงในภายภาคหน้า
การที่จะต้องนำบทเรียนมาใช้จริง ทำจริง จึงเป็นแรงกระตุ้นอย่างหนึ่งที่ทำให้ผู้ทำต้องเป็นผู้เข้าใจ และแม่นยำจนสามารถนำความรู้นั้นๆมาประยุกต์ใช้กับการทำงานได้
ทั้งความรู้ในการทำก๊าซชีวภาพ และความรู้ที่เกี่ยวกับการทำก๊าซชีวภาพ ซึ่งก็คือ เรื่องของจุลินทรีย์ และการคำนวณในวิชาฟิสิกส์ มาใช้ประกอบด้วย
จึงเห็นเป็นเรื่อง “สำคัญ” ที่จะได้มีความเข้าใจ เกิดการตระหนักถึงคุณค่าของพลังงาน มีการพัฒนาวุฒิภาวะที่ต้องอาศัยความรับผิดชอบเป็นตัวหลักในการทำ โดยที่ไม่ต้องรอให้ใครเตือนหรือคอยบอก เพิ่มศักยภาพในการทำงาน พร้อมทั้งยังได้เรียนเนื้อหาบทเรียนไปพร้อมๆกันด้วย
“ไม่ต้องคิดว่าอะไรที่ทำแล้วจะดีที่สุด และเป็นประโยชน์มากที่สุดในภายภาคหน้า แต่ให้คิดว่า อะไรที่ไม่ได้ทำแล้วจะเสียดายที่สุดในอนาคต ก็จงทำสิ่งนั้น”
B ï o g a $ I $ ..[b¥ $]
ก๊าซชีวภาพและขบวนการเกิดก๊าซ
ก๊าซชีวภาพ (Biogas) คือ ก๊าซที่เกิดจากมูลสัตว์ หรือสารอินทรีย์ต่างๆถูกย่อยสลาย โดยเชื้อจุรินทรีย์ในสภาพไร้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ก๊าซที่เกิดขึ้นเป็นก๊าซที่ผสมกันระหว่างก๊าซมีเทน (CH4) กับก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) ก๊าซไนโตรเจน (N2) ก๊าซไฮโดรเจน (H2) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แต่ส่วนใหญ่แล้วประกอบด้วยก๊าซมีเทนเป็นหลัก ซึ่งทีคุณสมบัติติดไฟได้ จึงใช้เป็นพลังงานให้ความร้อน แสงสว่าง และเดินเครื่องยนต์ได้ นอกจากนั้น กระบวนการหมักแบบไร้ออกซิเจนยังจะลดปริมาณสารอินทรีย์ในรูป COD (Chemical Oxygen Demand) และ BOD (Biogical Oxygen Demend) ที่มีอยู่ในสารหมักลงได้ 50 - 70 % ซึ่งเป็นวิธีการบำบัดน้ำเสียและลดมลภาวะด้วยเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ ซึ่งให้ประโยชน์ถึง 3 ประการ คือ 1. ให้พลังงานในรูปของก๊าซชีวภาพ 2. ลดปัญหามลภาวะและสภาพแวดล้อม 3. กากที่ผ่านการย่อยสลายแล้วสามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ในสภาพปุ๋ยน้ำ และปุ๋ยแห้ง เพื่อการปรับปรุงบำรุงดินได้ดี
ก๊าซมีเทนบริสุทธิ์มีคุณสมบัติเบากว่าอากาศประมาณครึ่งหนึ่ง (น้ำหนักโมเลกุล 16.04) ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีรส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ส่วนก๊าซชีวภาพซึ่งเป็นก๊าซผสมอากาศ เป็นก๊าซที่มีกลิ่นเล็กน้อย ซึ่งเกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ทำให้ผู้ใช้บางคนไม่ชอบเอาไปหุงต้ม แต่จริงๆแล้วกลิ่นของก๊าซนี้ไม่ได้ทำให้รสชาดของอาหารมีกลิ่นเลย พอเผาไหม้แล้วก็ระเหยไป ค่าความหนาแน่นของก๊าซชีวภาพ จะขึ้นอยู่กับความดันและอุณหภูมิ ส่วนค่าความร้อนของก๊าซชีวภาพจะขึ้นอยู่กับเปอเซ็นต์ของก๊าซมีเทนในก๊าซชีวภาพและความหนาแน่นของก๊าซชีวภาพ
ก๊าซชีวภาพเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
ก๊าซชีวภาพเกิดขึ้นได้ โดยขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยจุรินทรีย์ จนเกิดเป็นก๊าซชีวภาพ สารอินทรีย์ที่ใช้ในการสร้างก๊าซชีวภาพ ได้แก่ เศษอาหารที่ย่อยไม่ได้และถูกขับออกจากร่างกายสัตว์ ซึ่งประกอบด้วยสารที่ใช้สร้างก๊าซชีวภาพคือ
- เซลลูโลส (Cellulose)
- โปรตีน (Protein)
- ลิกนิน (Lignin)
- แป้งและน้ำตาล (Tanin)
- ไขมัน (Fit)
- กรดนิวคลีอิค (Nucleic acid)
- แอลกอฮอล (Alcohol)
ตัวการสร้างก๊าซชีวภาพ ได้แก่จุลินทรีย์บางกลุ่มจะย่อยสลายมูลสัตว์จนมีอนูเล็กลงและได้สารที่จุลินทรีย์กลุ่มที่สร้างก๊าซมีเทน (Methanogenic bacteria) นำไปสร้างก๊าซมีเทนในที่สุด โดยมีการแบ่งออกได้ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 การย่อยสลายสารอินทรีย์ (Hydrolytic stage) เป็นปฏิกริยาการย่อยสลายสารอินทรีย์ (Hydrolysis)ที่มีโมเลกุลใหญ่ เช่น คาร์โบรไฮเดรต ไขมัน โปรตีน โดยกลุ่มของแบคทีเรีย ให้เป็นโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน กลีเซอรอล เป็นต้น ในขณะเดียวกัน ผลจากปฏิกริยาย่อยสลายนี้ก็จะเป็นก๊าซไฮโดรเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั้งแอลกอฮอล จากนั้นปฏิกริยานี้จึงทำให้สภาพในบ่อหมักมีความเป็นกรด (ค่า pHต่ำ)และแบคทีเรียที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพความเป็นกรดจะทำหน้าที่ต่อไป โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ไขมัน กลีเซอลอน + กรดไขมันระเหยง่าย แอลกอฮอล คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล ไฮโดรเจน (แป้ง) คาร์บอนไดอ๊อกไซด์
ขั้นตอนที่ 2 การสร้างกรดอะซิติก (Acetogenic Stage) การสร้างกรดอะซิติก จากกรดอินทรีย์ชนิดต่างๆโดยแบคทีเรียที่สร้างกรดอะซิติก ในขณะเดียวกันผลจากปฏิกริยานี้ก็จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ที่จะปนอยู่ในก๊าซชีวภาพ กรดอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ กรดอะซิติก+คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ แอลกอฮอล (กรดน้ำส้มสายชู+น้ำ)
ขั้นตอนที่ 3 การสร้างก๊าซมีเทน (Methanogenic Stage) ปฏิกริยาการสร้างก๊าซมีเทนโดยแบคทีเรียชนิดที่ผลิตก๊าซมีเทน(Methane Produing หรือ Methanogenic Micro Organism) ซึ่งมีอยู่หลายชนิดและเป็นแบคทีเรียที่ต้องอยู่ในสภาวะที่ปราศจากอ๊อกซิเจน ถ้ามีอ๊อกซิเจนเพียงเล็กน้อยก็จะทำให้แบคทีเรียพวกนี้หยุดการเจริญเติบโต ก๊าซมีเทนอาจเกิดจากปฏิกริยาระหว่างกรดอินทรีย์(ส่วนใหญ่เป็นกรดอะซิติก)กับน้ำและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์กับไฮโดรเจน
ขบวนการเกิดก๊าซชีวภาพ
1.) Hydrolysis ย่อย สารอาหารโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้
2.) Acid Formantation ย่อย กรดอินทรีย์ (Organie Acid)
3.) Methane Fomantation ย่อย
ก๊าซชีวภาพ มีเทน คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ เชื้อแบคทีเรียทั้ง 3 กลุ่มจะต้องมีปริมาณสัมพันธ์กัน เพราะถ้าหากสารอาหาร(มูลสัตว์)มีมากเกินไป แบคทีเรียกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 จะผลิตกรดออกมามาก จนกระทั้งแบคทีเรียกลุ่มที่ 3 หยุดทำงาน(ก๊าซไม่เกิด) หากสารอาหารมีน้อยเกินไป แบคทีเรียก็จะเจริญเติบโตช้า(ผลิตก๊าซได้น้อย) หากมีการกวนสารอาหารพอสมควร จะทำให้แบคทีเรียทั้ง 3 กลุ่มสัมพันธ์กันดี แต่ถ้าหากมีการกวนสารอาหารมากเกินไปก็กลับทำให้การผลิตก๊าซลดลงเพราะไม่มีเวลาย่อยสลาย
ปัจจัยสำคัญในการผลิตก๊าซชีวภาพ
เนื่องจากขบวนการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นผลการทำงานของแบคทีเรียหลายชนิดเกี่ยวข้องกัน การที่จะทำให้แบคทีเรียผลิตก๊าซได้ดีนั้นจะต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย เพราะถ้าหากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมจะทำให้การผลิตก๊าซได้ผลลดลง ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตก๊าซชีวภาพ ได้แก่
1. ต้องไม่มีก๊าซออกซิเจนในบ่อหมัก การย่อยสลายสารอินทรีย์หรือส่วนผสมมูลสัตว์เพื่อให้เกิดก๊าซมีเทนหรือก๊าซหุงต้มนั้น จำเป็นจะต้องทำให้บ่อหมักอยู่ในสภาพที่ไม่มีก๊าซออกซิเจนอยู่เลย หากมีก๊าซออกซิเจนอยู่ก็ จะทำให้แบคทีเรียที่ผลิตก๊าซมีเทนหยุดการเจริญเติบโต นั่นหมายความว่าจะไม่มีการผลิตก๊าซมีเทนและสารอินทรีย์ ดังนั้นบ่อหมักก๊าซชีวภาพถ้ามีรอยรั่วหรือปิดไม่สนิท ก็จะทำให้ก๊าซมีเทนหยุดชะงักไป
2.อุณหภูมิที่เหมาะสม อุณหภูมิในบ่อหมักมีผลต่อการผลิตก๊าซชีวภาพ เนื่องจากความเร็วของปฏิกริยาทางเคมีจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ปฏิกริยาการเกิดก๊าซมีเทนจะอยู่ในช่วงอุณหภูมิระหว่าง 3 - 70๐C แบคทีเรียที่สามารถผลิตก๊าซมีเทนในช่วงอุณหภูมินี้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือช่วงอุณหภูมิต่ำ ช่วงอุณหภูมิปานกลาง และช่วงอุณหภูมิสูง อุณหภูมิในแต่ละช่วงจะมีผลต่ออัตราการเกิดก๊าซชีวภาพ คืออุณหภูมิยิ่งสูงขึ้น การย่อยสลายสารอินทรีย์จำนวนหนึ่งเพื่อที่จะให้ได้ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ต้องการก็จะเร็วขึ้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างบ่อก๊าซขนาดเล็กลงได้ (แต่อุณหภูมิจะไม่มีผลต่อปริมาณก๊าซที่ควรจะผลิตได้ทั้งหมดจากสารอินทรีย์นั้น ซึ่งจะเป็นค่าคงที่ขึ้นอยู่กับชนิดของสารอินทรีย์)
ความเข้มข้นของๆแข็งในบ่อหมัก (Substrate Solids Content) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมักแบบมีการเติมสารอินทรีย์อย่างสม่ำเสมอควรมีค่าระหว่าง 5 - 10 % และควรมีค่าประมาณ 25 % สำหรับบ่อหมักแบบเติมสารอินทรีย์เพียงครั้งเดียว ความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมักมีมากไปหรือน้อยไปก็จะเกิดผลเสียคือ ถ้าความเข้มข้นของของแข็งเพิ่มมากขึ้นเกินไป ก็จะทำให้เกิดการสะสมของกรดเพิ่มขึ้น ( pH ต่ำลง ) ทำให้ขบวนการหมักหยุดชะงัก เป็นผลทำให้ไม่มีการผลิตก๊าซ แต่ถ้าความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมักน้อยเกินไป ก็จะทำให้อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพต่อปริมาตรของบ่อไม่มากเท่าที่ควร ทำให้ได้ก๊าซน้อย
ระบบของการหมักก๊าซชีวภาพ แบ่งตามแบบการเติมสารหมัก(อินทรียสาร + น้ำ ) คือ
- แบบเติมครั้งคราว ( Batch Operation ) โดยการเติมอินทรียสารครั้งเดียวแล้วปล่อยให้อินทรียสารถูกย่อยสลายจนหมดแล้วจึงเอาออก และเติมสารอินทรีย์ลงใหม่ ทำให้ประสิทธิภาพการเกิดก๊าซต่ำ ประมาณก๊าซไม่คงที่
- แบบกึ่งต่อเนื่อง (Semi - Continuous Operation ) โดยการเติมอินทรียสารเป็นประจำ วันเว้นวัน หรือวันเว้น สองวัน ขึ้นอยู่กับสภาพสารอินทรีย์ที่มีและขนาดของบ่อหมัก ผลที่ได้ประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรก ประมาณก๊าซที่ได้ค่อนข้างคงที่
- แบบต่อเนื่อง ( Continuous Operation ) เป็นการเติมสารอินทรีย์เข้าและเอาสารอินทรีย์ที่ถูกย่อยสลายแล้วออกอยู่ตลอดเวลา ด้วยอัตราการไหลเข้าและออกคงที่ ประสิทธิภาพของระบบนี้จะสูงสุด เหมาะสมกับโรงงานอุตสาหกรรม ประมาณก๊าซที่เกิดขึ้นค่อนข้างคงที่อยู่ตลอดเวลา
ปริมาณก๊าซที่ผลิตได้จากสารอินทรีย์ชนิดต่างๆ
สารอินทรีย์ชนิดต่างๆเมื่อย่อยสลายหมดแล้วให้ก๊าซชีวภาพไม่เท่ากัน มูลสัตว์ มักจะย่อยสลายได้ง่ายและให้ปริมาณก๊าซมาก ดังตารางที่ 5 แต่ในการพิจารณาความเหมาะสมของสารเหล่านี้จะต้องคำนึงถึงปัจจัยอื่นๆประกอบด้วย เช่น ความหนาแน่น ความชื้น การอุดตัน กากที่ย่อยไม่ได้ ราคาและวิธีการเก็บ ตัวอย่างเช่น ผักตบชวามีความหนาแน่นต่ำ จึงมีปริมาณมากต่อน้ำหนักกิโลกรัมของของแข็ง ทำให้ต้องใช้บ่อหมักที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีน้ำเป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่ จึงต้องมีวิธีการทำให้น้ำระเหยออกบ้าง ปัจจัยประกอบเหล่านี้ทำให้การผลิตก๊าซชีวภาพจากผักตบชวามีค่าใช้จ่ายสูง ถึงแม้ผักตบชวาจะผลิตก๊าซชีวภาพได้มากต่อกิโลกรัมของของแข็งก็ตาม
ระยะเวลาการพักตัวของการเกิดก๊าซ ( Retention Time )
ระยะเวลาการพักตัวของการเกิดก๊าซ เป็นระยะเวลาที่ให้สารอินทรีย์ถูกผสมอยู่ในบ่อหมักก๊าซ เพื่อให้แบคทีเรียได้ย่อยสลายสารอินทรีีิีย์และใช้เป็นอาหารในการเพิ่มจำนวนจุรินทรีย์ให้มากขึ้นก่อนที่จะถูกถ่ายเทออกจากบ่อหมัก ปกติจะใช้เวลา 20 - 50 วัน ระยะเวลาการพักตัวของการเกิดก๊าซ สำหรับบ่อหมักก๊าซที่มีการเติมสารอินทรีย์ตลอดเวลาหรือเป็นระยะๆ สามารถคำนวณเป็นค่าเฉลี่ยได้โดย
ปริมาตรบ่อก๊าซ
ระยะเวลาการพักตัว = ปริมาตรการเติมสารหมักต่อวัน
ถ้าระยะเวลาการพักตัวสั้นเกินไป การชะล้างของแบคทีเรียในบ่อหมักจะมีอัตราเร็วกว่าการสร้างแบคทีเรียใหม่ ปฏิกริยาการย่อยสลายก็จะหยุดชะงัก เนื่องจากปริมาณแบคทีเรียในบ่อหมักลดลงหรือหมดไป แต่ถ้าให้ระยะเวลาพักตัวนานเกินไป ก็หมายความว่าบ่อหมักจะต้องมีปริมาตรใหญ่ขึ้น ทำให้ราคาค่าก่อสร้างบ่อก๊าซชีวภาพแพงตามไปด้วย
ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ( pH ) และความเข้มข้นของกรดระเหย ( Valatile acid )
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของสารละลายวัดค่าH ถ้าค่า pH = 7 แสดงว่าสารละลายนั้นเป็น กลาง ถ้าค่า pH ต่ำกว่า 7 แสดงว่าสารละลายนั้นมีความเป็นกรด และถ้าค่า pH มากกว่า 7 ก็แสดงว่าสารละลายนั้นมีความเป็นด่างเมื่อขบวนการหมักเข้าสู่สภาพคงที่แล้ว ก็จะทำให้เกิดความสมดุลของความเป็นกรดและด่าง เนื่องจากเกิดคาร์บอนไดออกไซด์ - ไบคาร์บอเนต ( CO2 - HCO3 ) และเกิดแอมโมเนีย - แอมโมเนียม (NH3 - NH4 ) ทำให้สารละลายในบ่อหมักมีค่า pH ระหว่าง 7.0 ถึง 8.5 ซึ่งเป็นค่า pH ที่วัดได้ในสารละลายในบ่อหมักก๊าซชีวภาพที่ทำงานเป็นปกติ ถ้าค่า pH ของสารละลายในบ่อหมักลดลงต่ำกว่า 6.2 จะหยุดยั้งการทำงานของแบคทีเรียที่ผลิตก๊าซมีเทน เป็นผลทำให้การผลิตก๊าซมีเทนลดลงหรือไม่มีการผลิตเลย สำหรับขบวนการหมักปกติ ความเข้มข้นของกรดระเหยได้ ซึ่งวัดในรูปของกรดอะซิติค ( Acetic acid ) ควรจะต้องต่ำกว่า 2000 PPM. (ส่วนในล้านส่วน) ถ้ากรดระเหยมีค่าสูงกว่านี้ ก็จะไปหยุดยั้งการทำงานของแบคทีเรียที่ผลิตก๊าซมีเทน เช่นกัน
อัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับไนโตรเจน (C/N Ratio)
อัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับไนโตรเจนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ควรอยู่ระหว่าง 30 : 1 ถึง 10 : 1เนื่องจากแบคทีเรียต้องใช้ทั้งคาร์บอนและไนโตรเจนในการเจริญเติบโตถ้าปริมาณไนโตรเจนมากจนเกินไปจะเกิดการสร้างแอมโมเนียมากขึ้น เป็นผลทำให้สภาพในบ่อหมักมีความเป็นด่างซึ่งจะไปหยุดยั้งการทำงานของแบคทีเรีย
สารเคมีและยาปฎิชีวนะ
สารเคมีและยาปฎิชีวนะที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพสัตว์ ล้างคอกและอื่นๆอาจมีผลต่อการผลิตก๊าซชีวภาพทั้งนั้น ทั้งนี้เป็นเพราะสารเคมีและยาปฎิชีวนะบางอย่างเป็นอันตรายกับแบคทีเรียที่ผลิตก๊าซชีวภาพ ทำให้เกิดก๊าซชีวภาพน้อยลงหรือไม่เกิดเลย ดังนั้นการใช้และบำรุงรักษาบ่อก๊าซชีวภาพจะต้องระวังไม่ให้สารเคมีและยาปฎิชีวนะเข้าไปในบ่อก๊าซชีวภาพได้ เช่นเมื่อใดที่มีการใช้ยาฆ่าเชื้อโรคล้างคอกสัตว์ ก็ให้นำน้ำนั้นไปทิ้งที่อื่น หรือถ้ามีการนำยาปฎิชีวนะให้สัตว์กินหรือฉีด ก็ต้องไม่ปล่อยให้มูลสัตว์นั้นไหลลงไปในบ่อเติมของบ่อก๊าซชีวภาพ ผลของสารเคมีและยาปฎิชีวนะบางอย่างแสดงไว้ใน ผลของสารเคมีชนิดต่างๆต่อการผลิตก๊าซชีวภาพ
------------------ ------------------------
ยาวบัดซรบเรยอ่ะ - -*
แต่เรากะอ่านแร้วน๊ะ - 0 -
งุงิ *-*
ก๊าซชีวภาพ (Biogas) คือ ก๊าซที่เกิดจากมูลสัตว์ หรือสารอินทรีย์ต่างๆถูกย่อยสลาย โดยเชื้อจุรินทรีย์ในสภาพไร้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ก๊าซที่เกิดขึ้นเป็นก๊าซที่ผสมกันระหว่างก๊าซมีเทน (CH4) กับก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) ก๊าซไนโตรเจน (N2) ก๊าซไฮโดรเจน (H2) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) แต่ส่วนใหญ่แล้วประกอบด้วยก๊าซมีเทนเป็นหลัก ซึ่งทีคุณสมบัติติดไฟได้ จึงใช้เป็นพลังงานให้ความร้อน แสงสว่าง และเดินเครื่องยนต์ได้ นอกจากนั้น กระบวนการหมักแบบไร้ออกซิเจนยังจะลดปริมาณสารอินทรีย์ในรูป COD (Chemical Oxygen Demand) และ BOD (Biogical Oxygen Demend) ที่มีอยู่ในสารหมักลงได้ 50 - 70 % ซึ่งเป็นวิธีการบำบัดน้ำเสียและลดมลภาวะด้วยเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ ซึ่งให้ประโยชน์ถึง 3 ประการ คือ 1. ให้พลังงานในรูปของก๊าซชีวภาพ 2. ลดปัญหามลภาวะและสภาพแวดล้อม 3. กากที่ผ่านการย่อยสลายแล้วสามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ในสภาพปุ๋ยน้ำ และปุ๋ยแห้ง เพื่อการปรับปรุงบำรุงดินได้ดี
ก๊าซมีเทนบริสุทธิ์มีคุณสมบัติเบากว่าอากาศประมาณครึ่งหนึ่ง (น้ำหนักโมเลกุล 16.04) ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย ไม่มีรส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ส่วนก๊าซชีวภาพซึ่งเป็นก๊าซผสมอากาศ เป็นก๊าซที่มีกลิ่นเล็กน้อย ซึ่งเกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ทำให้ผู้ใช้บางคนไม่ชอบเอาไปหุงต้ม แต่จริงๆแล้วกลิ่นของก๊าซนี้ไม่ได้ทำให้รสชาดของอาหารมีกลิ่นเลย พอเผาไหม้แล้วก็ระเหยไป ค่าความหนาแน่นของก๊าซชีวภาพ จะขึ้นอยู่กับความดันและอุณหภูมิ ส่วนค่าความร้อนของก๊าซชีวภาพจะขึ้นอยู่กับเปอเซ็นต์ของก๊าซมีเทนในก๊าซชีวภาพและความหนาแน่นของก๊าซชีวภาพ
ก๊าซชีวภาพเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
ก๊าซชีวภาพเกิดขึ้นได้ โดยขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยจุรินทรีย์ จนเกิดเป็นก๊าซชีวภาพ สารอินทรีย์ที่ใช้ในการสร้างก๊าซชีวภาพ ได้แก่ เศษอาหารที่ย่อยไม่ได้และถูกขับออกจากร่างกายสัตว์ ซึ่งประกอบด้วยสารที่ใช้สร้างก๊าซชีวภาพคือ
- เซลลูโลส (Cellulose)
- โปรตีน (Protein)
- ลิกนิน (Lignin)
- แป้งและน้ำตาล (Tanin)
- ไขมัน (Fit)
- กรดนิวคลีอิค (Nucleic acid)
- แอลกอฮอล (Alcohol)
ตัวการสร้างก๊าซชีวภาพ ได้แก่จุลินทรีย์บางกลุ่มจะย่อยสลายมูลสัตว์จนมีอนูเล็กลงและได้สารที่จุลินทรีย์กลุ่มที่สร้างก๊าซมีเทน (Methanogenic bacteria) นำไปสร้างก๊าซมีเทนในที่สุด โดยมีการแบ่งออกได้ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 การย่อยสลายสารอินทรีย์ (Hydrolytic stage) เป็นปฏิกริยาการย่อยสลายสารอินทรีย์ (Hydrolysis)ที่มีโมเลกุลใหญ่ เช่น คาร์โบรไฮเดรต ไขมัน โปรตีน โดยกลุ่มของแบคทีเรีย ให้เป็นโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน กลีเซอรอล เป็นต้น ในขณะเดียวกัน ผลจากปฏิกริยาย่อยสลายนี้ก็จะเป็นก๊าซไฮโดรเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั้งแอลกอฮอล จากนั้นปฏิกริยานี้จึงทำให้สภาพในบ่อหมักมีความเป็นกรด (ค่า pHต่ำ)และแบคทีเรียที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพความเป็นกรดจะทำหน้าที่ต่อไป โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ไขมัน กลีเซอลอน + กรดไขมันระเหยง่าย แอลกอฮอล คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล ไฮโดรเจน (แป้ง) คาร์บอนไดอ๊อกไซด์
ขั้นตอนที่ 2 การสร้างกรดอะซิติก (Acetogenic Stage) การสร้างกรดอะซิติก จากกรดอินทรีย์ชนิดต่างๆโดยแบคทีเรียที่สร้างกรดอะซิติก ในขณะเดียวกันผลจากปฏิกริยานี้ก็จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ที่จะปนอยู่ในก๊าซชีวภาพ กรดอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ กรดอะซิติก+คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ แอลกอฮอล (กรดน้ำส้มสายชู+น้ำ)
ขั้นตอนที่ 3 การสร้างก๊าซมีเทน (Methanogenic Stage) ปฏิกริยาการสร้างก๊าซมีเทนโดยแบคทีเรียชนิดที่ผลิตก๊าซมีเทน(Methane Produing หรือ Methanogenic Micro Organism) ซึ่งมีอยู่หลายชนิดและเป็นแบคทีเรียที่ต้องอยู่ในสภาวะที่ปราศจากอ๊อกซิเจน ถ้ามีอ๊อกซิเจนเพียงเล็กน้อยก็จะทำให้แบคทีเรียพวกนี้หยุดการเจริญเติบโต ก๊าซมีเทนอาจเกิดจากปฏิกริยาระหว่างกรดอินทรีย์(ส่วนใหญ่เป็นกรดอะซิติก)กับน้ำและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์กับไฮโดรเจน
ขบวนการเกิดก๊าซชีวภาพ
1.) Hydrolysis ย่อย สารอาหารโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้
2.) Acid Formantation ย่อย กรดอินทรีย์ (Organie Acid)
3.) Methane Fomantation ย่อย
ก๊าซชีวภาพ มีเทน คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ เชื้อแบคทีเรียทั้ง 3 กลุ่มจะต้องมีปริมาณสัมพันธ์กัน เพราะถ้าหากสารอาหาร(มูลสัตว์)มีมากเกินไป แบคทีเรียกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 จะผลิตกรดออกมามาก จนกระทั้งแบคทีเรียกลุ่มที่ 3 หยุดทำงาน(ก๊าซไม่เกิด) หากสารอาหารมีน้อยเกินไป แบคทีเรียก็จะเจริญเติบโตช้า(ผลิตก๊าซได้น้อย) หากมีการกวนสารอาหารพอสมควร จะทำให้แบคทีเรียทั้ง 3 กลุ่มสัมพันธ์กันดี แต่ถ้าหากมีการกวนสารอาหารมากเกินไปก็กลับทำให้การผลิตก๊าซลดลงเพราะไม่มีเวลาย่อยสลาย
ปัจจัยสำคัญในการผลิตก๊าซชีวภาพ
เนื่องจากขบวนการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นผลการทำงานของแบคทีเรียหลายชนิดเกี่ยวข้องกัน การที่จะทำให้แบคทีเรียผลิตก๊าซได้ดีนั้นจะต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย เพราะถ้าหากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมจะทำให้การผลิตก๊าซได้ผลลดลง ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตก๊าซชีวภาพ ได้แก่
1. ต้องไม่มีก๊าซออกซิเจนในบ่อหมัก การย่อยสลายสารอินทรีย์หรือส่วนผสมมูลสัตว์เพื่อให้เกิดก๊าซมีเทนหรือก๊าซหุงต้มนั้น จำเป็นจะต้องทำให้บ่อหมักอยู่ในสภาพที่ไม่มีก๊าซออกซิเจนอยู่เลย หากมีก๊าซออกซิเจนอยู่ก็ จะทำให้แบคทีเรียที่ผลิตก๊าซมีเทนหยุดการเจริญเติบโต นั่นหมายความว่าจะไม่มีการผลิตก๊าซมีเทนและสารอินทรีย์ ดังนั้นบ่อหมักก๊าซชีวภาพถ้ามีรอยรั่วหรือปิดไม่สนิท ก็จะทำให้ก๊าซมีเทนหยุดชะงักไป
2.อุณหภูมิที่เหมาะสม อุณหภูมิในบ่อหมักมีผลต่อการผลิตก๊าซชีวภาพ เนื่องจากความเร็วของปฏิกริยาทางเคมีจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ปฏิกริยาการเกิดก๊าซมีเทนจะอยู่ในช่วงอุณหภูมิระหว่าง 3 - 70๐C แบคทีเรียที่สามารถผลิตก๊าซมีเทนในช่วงอุณหภูมินี้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือช่วงอุณหภูมิต่ำ ช่วงอุณหภูมิปานกลาง และช่วงอุณหภูมิสูง อุณหภูมิในแต่ละช่วงจะมีผลต่ออัตราการเกิดก๊าซชีวภาพ คืออุณหภูมิยิ่งสูงขึ้น การย่อยสลายสารอินทรีย์จำนวนหนึ่งเพื่อที่จะให้ได้ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ต้องการก็จะเร็วขึ้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างบ่อก๊าซขนาดเล็กลงได้ (แต่อุณหภูมิจะไม่มีผลต่อปริมาณก๊าซที่ควรจะผลิตได้ทั้งหมดจากสารอินทรีย์นั้น ซึ่งจะเป็นค่าคงที่ขึ้นอยู่กับชนิดของสารอินทรีย์)
ความเข้มข้นของๆแข็งในบ่อหมัก (Substrate Solids Content) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมักแบบมีการเติมสารอินทรีย์อย่างสม่ำเสมอควรมีค่าระหว่าง 5 - 10 % และควรมีค่าประมาณ 25 % สำหรับบ่อหมักแบบเติมสารอินทรีย์เพียงครั้งเดียว ความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมักมีมากไปหรือน้อยไปก็จะเกิดผลเสียคือ ถ้าความเข้มข้นของของแข็งเพิ่มมากขึ้นเกินไป ก็จะทำให้เกิดการสะสมของกรดเพิ่มขึ้น ( pH ต่ำลง ) ทำให้ขบวนการหมักหยุดชะงัก เป็นผลทำให้ไม่มีการผลิตก๊าซ แต่ถ้าความเข้มข้นของของแข็งในบ่อหมักน้อยเกินไป ก็จะทำให้อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพต่อปริมาตรของบ่อไม่มากเท่าที่ควร ทำให้ได้ก๊าซน้อย
ระบบของการหมักก๊าซชีวภาพ แบ่งตามแบบการเติมสารหมัก(อินทรียสาร + น้ำ ) คือ
- แบบเติมครั้งคราว ( Batch Operation ) โดยการเติมอินทรียสารครั้งเดียวแล้วปล่อยให้อินทรียสารถูกย่อยสลายจนหมดแล้วจึงเอาออก และเติมสารอินทรีย์ลงใหม่ ทำให้ประสิทธิภาพการเกิดก๊าซต่ำ ประมาณก๊าซไม่คงที่
- แบบกึ่งต่อเนื่อง (Semi - Continuous Operation ) โดยการเติมอินทรียสารเป็นประจำ วันเว้นวัน หรือวันเว้น สองวัน ขึ้นอยู่กับสภาพสารอินทรีย์ที่มีและขนาดของบ่อหมัก ผลที่ได้ประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรก ประมาณก๊าซที่ได้ค่อนข้างคงที่
- แบบต่อเนื่อง ( Continuous Operation ) เป็นการเติมสารอินทรีย์เข้าและเอาสารอินทรีย์ที่ถูกย่อยสลายแล้วออกอยู่ตลอดเวลา ด้วยอัตราการไหลเข้าและออกคงที่ ประสิทธิภาพของระบบนี้จะสูงสุด เหมาะสมกับโรงงานอุตสาหกรรม ประมาณก๊าซที่เกิดขึ้นค่อนข้างคงที่อยู่ตลอดเวลา
ปริมาณก๊าซที่ผลิตได้จากสารอินทรีย์ชนิดต่างๆ
สารอินทรีย์ชนิดต่างๆเมื่อย่อยสลายหมดแล้วให้ก๊าซชีวภาพไม่เท่ากัน มูลสัตว์ มักจะย่อยสลายได้ง่ายและให้ปริมาณก๊าซมาก ดังตารางที่ 5 แต่ในการพิจารณาความเหมาะสมของสารเหล่านี้จะต้องคำนึงถึงปัจจัยอื่นๆประกอบด้วย เช่น ความหนาแน่น ความชื้น การอุดตัน กากที่ย่อยไม่ได้ ราคาและวิธีการเก็บ ตัวอย่างเช่น ผักตบชวามีความหนาแน่นต่ำ จึงมีปริมาณมากต่อน้ำหนักกิโลกรัมของของแข็ง ทำให้ต้องใช้บ่อหมักที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีน้ำเป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่ จึงต้องมีวิธีการทำให้น้ำระเหยออกบ้าง ปัจจัยประกอบเหล่านี้ทำให้การผลิตก๊าซชีวภาพจากผักตบชวามีค่าใช้จ่ายสูง ถึงแม้ผักตบชวาจะผลิตก๊าซชีวภาพได้มากต่อกิโลกรัมของของแข็งก็ตาม
ระยะเวลาการพักตัวของการเกิดก๊าซ ( Retention Time )
ระยะเวลาการพักตัวของการเกิดก๊าซ เป็นระยะเวลาที่ให้สารอินทรีย์ถูกผสมอยู่ในบ่อหมักก๊าซ เพื่อให้แบคทีเรียได้ย่อยสลายสารอินทรีีิีย์และใช้เป็นอาหารในการเพิ่มจำนวนจุรินทรีย์ให้มากขึ้นก่อนที่จะถูกถ่ายเทออกจากบ่อหมัก ปกติจะใช้เวลา 20 - 50 วัน ระยะเวลาการพักตัวของการเกิดก๊าซ สำหรับบ่อหมักก๊าซที่มีการเติมสารอินทรีย์ตลอดเวลาหรือเป็นระยะๆ สามารถคำนวณเป็นค่าเฉลี่ยได้โดย
ปริมาตรบ่อก๊าซ
ระยะเวลาการพักตัว = ปริมาตรการเติมสารหมักต่อวัน
ถ้าระยะเวลาการพักตัวสั้นเกินไป การชะล้างของแบคทีเรียในบ่อหมักจะมีอัตราเร็วกว่าการสร้างแบคทีเรียใหม่ ปฏิกริยาการย่อยสลายก็จะหยุดชะงัก เนื่องจากปริมาณแบคทีเรียในบ่อหมักลดลงหรือหมดไป แต่ถ้าให้ระยะเวลาพักตัวนานเกินไป ก็หมายความว่าบ่อหมักจะต้องมีปริมาตรใหญ่ขึ้น ทำให้ราคาค่าก่อสร้างบ่อก๊าซชีวภาพแพงตามไปด้วย
ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ( pH ) และความเข้มข้นของกรดระเหย ( Valatile acid )
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของสารละลายวัดค่าH ถ้าค่า pH = 7 แสดงว่าสารละลายนั้นเป็น กลาง ถ้าค่า pH ต่ำกว่า 7 แสดงว่าสารละลายนั้นมีความเป็นกรด และถ้าค่า pH มากกว่า 7 ก็แสดงว่าสารละลายนั้นมีความเป็นด่างเมื่อขบวนการหมักเข้าสู่สภาพคงที่แล้ว ก็จะทำให้เกิดความสมดุลของความเป็นกรดและด่าง เนื่องจากเกิดคาร์บอนไดออกไซด์ - ไบคาร์บอเนต ( CO2 - HCO3 ) และเกิดแอมโมเนีย - แอมโมเนียม (NH3 - NH4 ) ทำให้สารละลายในบ่อหมักมีค่า pH ระหว่าง 7.0 ถึง 8.5 ซึ่งเป็นค่า pH ที่วัดได้ในสารละลายในบ่อหมักก๊าซชีวภาพที่ทำงานเป็นปกติ ถ้าค่า pH ของสารละลายในบ่อหมักลดลงต่ำกว่า 6.2 จะหยุดยั้งการทำงานของแบคทีเรียที่ผลิตก๊าซมีเทน เป็นผลทำให้การผลิตก๊าซมีเทนลดลงหรือไม่มีการผลิตเลย สำหรับขบวนการหมักปกติ ความเข้มข้นของกรดระเหยได้ ซึ่งวัดในรูปของกรดอะซิติค ( Acetic acid ) ควรจะต้องต่ำกว่า 2000 PPM. (ส่วนในล้านส่วน) ถ้ากรดระเหยมีค่าสูงกว่านี้ ก็จะไปหยุดยั้งการทำงานของแบคทีเรียที่ผลิตก๊าซมีเทน เช่นกัน
อัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับไนโตรเจน (C/N Ratio)
อัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับไนโตรเจนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ควรอยู่ระหว่าง 30 : 1 ถึง 10 : 1เนื่องจากแบคทีเรียต้องใช้ทั้งคาร์บอนและไนโตรเจนในการเจริญเติบโตถ้าปริมาณไนโตรเจนมากจนเกินไปจะเกิดการสร้างแอมโมเนียมากขึ้น เป็นผลทำให้สภาพในบ่อหมักมีความเป็นด่างซึ่งจะไปหยุดยั้งการทำงานของแบคทีเรีย
สารเคมีและยาปฎิชีวนะ
สารเคมีและยาปฎิชีวนะที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพสัตว์ ล้างคอกและอื่นๆอาจมีผลต่อการผลิตก๊าซชีวภาพทั้งนั้น ทั้งนี้เป็นเพราะสารเคมีและยาปฎิชีวนะบางอย่างเป็นอันตรายกับแบคทีเรียที่ผลิตก๊าซชีวภาพ ทำให้เกิดก๊าซชีวภาพน้อยลงหรือไม่เกิดเลย ดังนั้นการใช้และบำรุงรักษาบ่อก๊าซชีวภาพจะต้องระวังไม่ให้สารเคมีและยาปฎิชีวนะเข้าไปในบ่อก๊าซชีวภาพได้ เช่นเมื่อใดที่มีการใช้ยาฆ่าเชื้อโรคล้างคอกสัตว์ ก็ให้นำน้ำนั้นไปทิ้งที่อื่น หรือถ้ามีการนำยาปฎิชีวนะให้สัตว์กินหรือฉีด ก็ต้องไม่ปล่อยให้มูลสัตว์นั้นไหลลงไปในบ่อเติมของบ่อก๊าซชีวภาพ ผลของสารเคมีและยาปฎิชีวนะบางอย่างแสดงไว้ใน ผลของสารเคมีชนิดต่างๆต่อการผลิตก๊าซชีวภาพ
------------------ ------------------------
ยาวบัดซรบเรยอ่ะ - -*
แต่เรากะอ่านแร้วน๊ะ - 0 -
งุงิ *-*
BioGa$.. €h ?? ..s a s k i a..
บางสิ่งบางอย่างถูกมองว่าเป็นขยะ แต่ทั้งที่จริงแล้ว "ขยะ" เหล่านั้นยังสามารถนำมาใช้ใหม่ได้ ถึงแม้บางอย่างจะต้องผ่านขั้นตอนไปบ้าง แต่บางครั้งผลที่ได้ก็ยังดีกว่าปล่อยทิ้งไปเปล่าๆโดยไม่ทำอะไรเลย
ทรัพยากรถูกนำไปใช้อย่างต่อเนื่องทั้งเพื่อการอุปโภคและบริโภค การมีทางเลือกใช้ทรัพยากรใหม่ๆโดยที่ไม่ทำลายของเดิมที่มีอยู่อย่างสิ้นเปลืองจึงเป็นหนทางหนึ่งที่ดีกว่า
และไบโอก๊าซซึ่งเป็นก๊าซชีวภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นกระบวนการซึ่งคล้ายกับนำ "ขยะ" หรือ "ของที่ไม่ใช้แล้ว" นำมาสร้างประโยชน์ เป็นพลังงานในอีกรูปแบบหนึ่ง
วิธีการทำก๊าซชีวภาพนี้ก็จำเป็นต้องอาศัยความพิถีพิถัน และการเอาใจใส่เช่นกัน นอกจากจะได้มีความรู้ใหม่ในเรื่องของก๊าซชีวภาพแล้ว ยังเห็นว่าจะได้ความรู้ในเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับก๊าซชีวภาพอีกด้วย ทั้งเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา ผ่านการลงมือทำ
ก๊าซชีวภาพเป็นก๊าซที่เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ โดยผ่านกระบวนการการเกิด 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
1.การย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ
2.การสร้างกรดอะซิติก
และ 3.การสร้างก๊าซมีเทน
ประโยชน์ของก๊าซชีวภาพสามารถนำไปใช้แทนก๊าซหุงต้ม ที่ปกติจะไม่มีกลิ่น แต่ก๊าซชีวภาพนี้จะมีกลิ่นเล็กน้อย แต่ก็ไม่เป็นผลกับการประกอบอาหารแต่อย่างใด สามารถนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้า รวมทั้งเป็นเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์
ดังนั้น การศึกษาเรื่องก๊าซชีวภาพยังมีข้อดีหลายอย่าง ซึ่งสรุปโดยรวมก็คือ ทำให้เข้าใจ ได้ลงมือทำ และต่อยอดความรู้ในวิชาที่เรียนอยู่ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในสักวันหนึ่งภายภาคหน้าอย่างแน่นอน
ทรัพยากรถูกนำไปใช้อย่างต่อเนื่องทั้งเพื่อการอุปโภคและบริโภค การมีทางเลือกใช้ทรัพยากรใหม่ๆโดยที่ไม่ทำลายของเดิมที่มีอยู่อย่างสิ้นเปลืองจึงเป็นหนทางหนึ่งที่ดีกว่า
และไบโอก๊าซซึ่งเป็นก๊าซชีวภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นกระบวนการซึ่งคล้ายกับนำ "ขยะ" หรือ "ของที่ไม่ใช้แล้ว" นำมาสร้างประโยชน์ เป็นพลังงานในอีกรูปแบบหนึ่ง
วิธีการทำก๊าซชีวภาพนี้ก็จำเป็นต้องอาศัยความพิถีพิถัน และการเอาใจใส่เช่นกัน นอกจากจะได้มีความรู้ใหม่ในเรื่องของก๊าซชีวภาพแล้ว ยังเห็นว่าจะได้ความรู้ในเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับก๊าซชีวภาพอีกด้วย ทั้งเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา ผ่านการลงมือทำ
ก๊าซชีวภาพเป็นก๊าซที่เกิดจากการย่อยสลายของจุลินทรีย์ โดยผ่านกระบวนการการเกิด 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
1.การย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ
2.การสร้างกรดอะซิติก
และ 3.การสร้างก๊าซมีเทน
ประโยชน์ของก๊าซชีวภาพสามารถนำไปใช้แทนก๊าซหุงต้ม ที่ปกติจะไม่มีกลิ่น แต่ก๊าซชีวภาพนี้จะมีกลิ่นเล็กน้อย แต่ก็ไม่เป็นผลกับการประกอบอาหารแต่อย่างใด สามารถนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้า รวมทั้งเป็นเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์
ดังนั้น การศึกษาเรื่องก๊าซชีวภาพยังมีข้อดีหลายอย่าง ซึ่งสรุปโดยรวมก็คือ ทำให้เข้าใจ ได้ลงมือทำ และต่อยอดความรู้ในวิชาที่เรียนอยู่ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในสักวันหนึ่งภายภาคหน้าอย่างแน่นอน
main idea for doing biogassssss..........??????
แนวคิดหลักในการทำ Biogas
ในเทอมนี้ เราได้เรียนในเรื่องของภูมิอากาศและปรากฏการณ์ตามธรรมชาติต่างๆ ทั้งในระดับโลก ระดับทวีป จนถึงประเทศไทย ซึ่งจากการศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตินี้ ทำให้เราได้รู้ว่าโลกที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้ กำลังถอยห่างจากธรรมชาติออกไปทุกทีๆ และปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ก็คือ “ภาวะโลกร้อน” เราได้รู้ว่าภาวะโลกร้อนเกิดจากการที่มีก็าซเรือนกระจกถูกปล่อยออกสู่อากาศ ก็าซเหล่านี้จะดูดซับและกักแสงอาทิตย์เอาไว้ภายในโลก ซึ่งก็าซที่ดูดซับแสงอาทิตย์ไว้มากที่สุดก็คือ CO2 นอกจากจะเรียนรู้การเกิดภาวะโลกร้อนแล้ว เราก็ยังได้เรียนรู้ถึงผลกระทบที่ตามมากับภาวะโลกร้อน ไม่ว่าจะเป็นการขยายตัวของทะเลทราย อัตราการเกิดน้ำท่วมที่เพิ่มมากขึ้น หรือการระบาดของเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้ ถ้าเราไม่ทำอะไรซักอย่างเพื่อช่วยกันชะลอภาวะโลกร้อน โลกของเราก็คงจะต้องเข้าสู่ภาวะวิกฤตที่ร้ายแรงอย่างไม่เคยมีมาก่อน
หลังจากได้มองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับโลกของเราแล้ว เราก็ได้เรียนในเรื่องของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เราได้เรียนรู้ตั้งแต่การเรียกชื่อสารประกอบ Hydrocarbon ทำให้เราได้รู้ว่าทั้ง Petroleum น้ำมันทั้งเบนซินและดีเซล รวมถึงเชื้อเพลิงต่างๆ ล้วนเป็นสารประกอบ Hydrocarbon ทั้งสิ้น จากนั้น เราก็ได้เรียนปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเมื่อเผาไหม้แล้วก็จะได้ CO2 กับน้ำ ดังนั้นการที่เราใช้รถหรือเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ ก็ล้วนปล่อย CO2 ออกสู่อากาศทั้งสิ้น เท่ากับว่าเราได้ใช้วิชาเคมีมาอธิบายสิ่งที่เกิดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ๆ และการทำอุตสาหกรรม เป็นการสูบใช้พลังงานในปริมาณมหาศาล ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการปล่อย CO2 ปริมาณมหาศาลด้วย แต่ในโลกยุคปัจจุบันนี้ การจะให้เลิกใช้พลังงานก็คงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น คงจะดีไม่น้อยถ้าเรามีวิธีเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นพลังงานโดยไม่ต้องเผาไหม้ Biogas จึงเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกที่น่าจะช่วยโลกของเราได้ เพราะ Biogas นั้นเป็นก็าซที่เกิดจากการหมักสารอินทรีย์ในสภาพไร้ออกซิเจน โดยจะเกิด CH4 เป็นส่วนใหญ่ โดย Biogas สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทั้งในการประกอบอาหารและรถยนต์ รวมทั้งนำมาผลิตเป็นไฟฟ้า ไม่เพียงเท่านั้น Biogas ยังถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนขยะเป็นทรัพยาการอย่างแท้จริง เพราะ Biogas นั้นสามารถใช้สารอินทรีย์อะไรก็ได้มาหมัก เศษอาหารและเศษใบไม้ต่างๆที่น่าจะเป็นขยะ จึงกลายมาเป็นพลังงานได้ด้วยการทำ Biogas
ในโรงเรียนรุ่งอรุณของเรานั้น ก็มีขยะมากมายที่สามารถนำมาหมักเป็น Biogas ได้ ไม่ว่าจะเป็นเศษอาหารจากข้าวกลางวันที่พวกเราทานเหลือ ซึ่งเพียงแค่ในระดับมัธยมนั้น ในหนึ่งวัน ก็มีเศษอาหารเหลือทิ้งถึง 6 ถัง ไม่เพียงแค่นั้น เศษอาหารจากร้านในโรบงเรียนเองก็มีมากเช่นกัน นอกจากเศษอาหารแล้ว ใบไม้ที่คุณลุงคุณป้ากวาดอยู่ทุกวันก็มีปริมาณมากเช่นกัน พวกเราคิดว่าถ้าทำ Biogas ได้แล้ว จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงในการทำอาหาร เพราะ Biogas นั้นสามารถจะนำมาเป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารได้โดยตรง นอกจากจะได้พลังงานแล้ว เรายังสามารถจะนำกากที่เหลือจากการหมักมาทำเป็นปุ๋ยคุณภาพดีได้อีกด้วย
ถ้าหากว่าทุกประเทศทั่วโลกหันมาใช้พลังงานทางเลือกอย่าง Biogas กันมากขึ้น ถึงแม้ว่าเราอาจจะไม่สามารถใช้ Biogas เป็นพลังงานแทน Petroleum ได้ทั้งหมด แต่สิ่งที่จะลดลงอย่างแน่นอนหากเราหันมาทำ Biogas ก็คือ CO2 ทั้งจากการเผาขยะและ Petroleum ถึงแม้ว่าขยะกว่า 50% จะไม่ใช้สารอินทรีย์ที่นำมาหมักได้ แต่ก็ยังมีขยะเป็นจำนวนมาก ที่ยังสามารถนำมาหมักเป็น Biogas ได้ หากเราไม่นำขยะเหล่านั้นมาแปรรูป ขยะเหล่านั้นก็คงต้องถูกเผาในโรงกำจัดขยะ นอกจากจะลด CO2 ได้แล้ว ก็ยังจะสามารถลด CH4 ซึ่งเป็นมลพิษและเป็นหนึ่งในก็าซเรือนกระจกได้ โดยการเปลี่ยนให้กลายเป็นพลังงาน ในภาคเกษตรกรรม หากเกษตรกรนำเอามูลสัตว์และเศษใบไม้มาหมัก จะสามารถลดต้นทุนได้ทั้งในการกำจัดขยะและการซื้อปุ๋ยเคมี เพราะกากที่ได้จากการหมัก เป็นปุ๋ยชีวภาพที่ผ่านการหมักและการย่อยสลายมาอย่างเต็มที่แล้ว จึงเป็นปุ๋ยคุณภาพดียิ่งกว่าปุ๋ยเคมีเสียอีก การทำ Biogas ยังช่วยลดมลพิษ กลิ่นเหม็น และควันไฟจากการเผาขยะ รวมถึงช่วยบำบัดน้ำ ทำให้ทัศนียภาพในเมืองหน้าอยู่มากขึ้น
สำหรับตัวพวกเราเอง สิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อเราอย่างแน่นอนหากเราทำ Biogas ไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม คือ เราจะได้ความรู้ใหม่ๆ อย่างแรกเลยก็คือความรู้เรื่องเกี่ยวกับพลังงานทดแทนและ Biogas ความรู้ในวิชาเคมี ในเรื่องของปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นขณะหมัก วิชาชีววิทยา ในเรื่องของจูลินทรีย์ ตลอดจนวิชาฟิสิกส์ ในเรื่องของอุณหภูมิ ความดัน และพลังงาน เป็นต้น นอกจากในด้านความรู้แล้ว เรายังจะได้ฝึกตนเองให้มีความละเอียดรอบคอบ เพราะ Biogas เป็นการทำงานกับก็าซ จึงต้องอาศัยความพิถีพิถันและความละเอียดอ่อนในการทำงาน และสิ่งที่พวกเราคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเรามากที่สุดในการทำ Biogas ครั้งนี้คือ พวกเราจะได้รับรู้ถึงความยากลำบากในการทำงาน ให้เรารับรู้ว่า เวลาที่เราสามารถใช้พลังงานมหาศาลได้อย่างง่ายดาย แต่การที่เราจะผลิตพลังงานด้วยตัวเองเพียงเล็กน้อยนั้นยากลำบากเพียงใด
ในเทอมนี้ เราได้เรียนในเรื่องของภูมิอากาศและปรากฏการณ์ตามธรรมชาติต่างๆ ทั้งในระดับโลก ระดับทวีป จนถึงประเทศไทย ซึ่งจากการศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาตินี้ ทำให้เราได้รู้ว่าโลกที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้ กำลังถอยห่างจากธรรมชาติออกไปทุกทีๆ และปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ก็คือ “ภาวะโลกร้อน” เราได้รู้ว่าภาวะโลกร้อนเกิดจากการที่มีก็าซเรือนกระจกถูกปล่อยออกสู่อากาศ ก็าซเหล่านี้จะดูดซับและกักแสงอาทิตย์เอาไว้ภายในโลก ซึ่งก็าซที่ดูดซับแสงอาทิตย์ไว้มากที่สุดก็คือ CO2 นอกจากจะเรียนรู้การเกิดภาวะโลกร้อนแล้ว เราก็ยังได้เรียนรู้ถึงผลกระทบที่ตามมากับภาวะโลกร้อน ไม่ว่าจะเป็นการขยายตัวของทะเลทราย อัตราการเกิดน้ำท่วมที่เพิ่มมากขึ้น หรือการระบาดของเชื้อโรคต่างๆ ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้ ถ้าเราไม่ทำอะไรซักอย่างเพื่อช่วยกันชะลอภาวะโลกร้อน โลกของเราก็คงจะต้องเข้าสู่ภาวะวิกฤตที่ร้ายแรงอย่างไม่เคยมีมาก่อน
หลังจากได้มองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับโลกของเราแล้ว เราก็ได้เรียนในเรื่องของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เราได้เรียนรู้ตั้งแต่การเรียกชื่อสารประกอบ Hydrocarbon ทำให้เราได้รู้ว่าทั้ง Petroleum น้ำมันทั้งเบนซินและดีเซล รวมถึงเชื้อเพลิงต่างๆ ล้วนเป็นสารประกอบ Hydrocarbon ทั้งสิ้น จากนั้น เราก็ได้เรียนปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสารประกอบ Hydrocarbon ซึ่งเมื่อเผาไหม้แล้วก็จะได้ CO2 กับน้ำ ดังนั้นการที่เราใช้รถหรือเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ ก็ล้วนปล่อย CO2 ออกสู่อากาศทั้งสิ้น เท่ากับว่าเราได้ใช้วิชาเคมีมาอธิบายสิ่งที่เกิดให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ๆ และการทำอุตสาหกรรม เป็นการสูบใช้พลังงานในปริมาณมหาศาล ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการปล่อย CO2 ปริมาณมหาศาลด้วย แต่ในโลกยุคปัจจุบันนี้ การจะให้เลิกใช้พลังงานก็คงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น คงจะดีไม่น้อยถ้าเรามีวิธีเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นพลังงานโดยไม่ต้องเผาไหม้ Biogas จึงเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกที่น่าจะช่วยโลกของเราได้ เพราะ Biogas นั้นเป็นก็าซที่เกิดจากการหมักสารอินทรีย์ในสภาพไร้ออกซิเจน โดยจะเกิด CH4 เป็นส่วนใหญ่ โดย Biogas สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทั้งในการประกอบอาหารและรถยนต์ รวมทั้งนำมาผลิตเป็นไฟฟ้า ไม่เพียงเท่านั้น Biogas ยังถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนขยะเป็นทรัพยาการอย่างแท้จริง เพราะ Biogas นั้นสามารถใช้สารอินทรีย์อะไรก็ได้มาหมัก เศษอาหารและเศษใบไม้ต่างๆที่น่าจะเป็นขยะ จึงกลายมาเป็นพลังงานได้ด้วยการทำ Biogas
ในโรงเรียนรุ่งอรุณของเรานั้น ก็มีขยะมากมายที่สามารถนำมาหมักเป็น Biogas ได้ ไม่ว่าจะเป็นเศษอาหารจากข้าวกลางวันที่พวกเราทานเหลือ ซึ่งเพียงแค่ในระดับมัธยมนั้น ในหนึ่งวัน ก็มีเศษอาหารเหลือทิ้งถึง 6 ถัง ไม่เพียงแค่นั้น เศษอาหารจากร้านในโรบงเรียนเองก็มีมากเช่นกัน นอกจากเศษอาหารแล้ว ใบไม้ที่คุณลุงคุณป้ากวาดอยู่ทุกวันก็มีปริมาณมากเช่นกัน พวกเราคิดว่าถ้าทำ Biogas ได้แล้ว จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงในการทำอาหาร เพราะ Biogas นั้นสามารถจะนำมาเป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารได้โดยตรง นอกจากจะได้พลังงานแล้ว เรายังสามารถจะนำกากที่เหลือจากการหมักมาทำเป็นปุ๋ยคุณภาพดีได้อีกด้วย
ถ้าหากว่าทุกประเทศทั่วโลกหันมาใช้พลังงานทางเลือกอย่าง Biogas กันมากขึ้น ถึงแม้ว่าเราอาจจะไม่สามารถใช้ Biogas เป็นพลังงานแทน Petroleum ได้ทั้งหมด แต่สิ่งที่จะลดลงอย่างแน่นอนหากเราหันมาทำ Biogas ก็คือ CO2 ทั้งจากการเผาขยะและ Petroleum ถึงแม้ว่าขยะกว่า 50% จะไม่ใช้สารอินทรีย์ที่นำมาหมักได้ แต่ก็ยังมีขยะเป็นจำนวนมาก ที่ยังสามารถนำมาหมักเป็น Biogas ได้ หากเราไม่นำขยะเหล่านั้นมาแปรรูป ขยะเหล่านั้นก็คงต้องถูกเผาในโรงกำจัดขยะ นอกจากจะลด CO2 ได้แล้ว ก็ยังจะสามารถลด CH4 ซึ่งเป็นมลพิษและเป็นหนึ่งในก็าซเรือนกระจกได้ โดยการเปลี่ยนให้กลายเป็นพลังงาน ในภาคเกษตรกรรม หากเกษตรกรนำเอามูลสัตว์และเศษใบไม้มาหมัก จะสามารถลดต้นทุนได้ทั้งในการกำจัดขยะและการซื้อปุ๋ยเคมี เพราะกากที่ได้จากการหมัก เป็นปุ๋ยชีวภาพที่ผ่านการหมักและการย่อยสลายมาอย่างเต็มที่แล้ว จึงเป็นปุ๋ยคุณภาพดียิ่งกว่าปุ๋ยเคมีเสียอีก การทำ Biogas ยังช่วยลดมลพิษ กลิ่นเหม็น และควันไฟจากการเผาขยะ รวมถึงช่วยบำบัดน้ำ ทำให้ทัศนียภาพในเมืองหน้าอยู่มากขึ้น
สำหรับตัวพวกเราเอง สิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อเราอย่างแน่นอนหากเราทำ Biogas ไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม คือ เราจะได้ความรู้ใหม่ๆ อย่างแรกเลยก็คือความรู้เรื่องเกี่ยวกับพลังงานทดแทนและ Biogas ความรู้ในวิชาเคมี ในเรื่องของปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นขณะหมัก วิชาชีววิทยา ในเรื่องของจูลินทรีย์ ตลอดจนวิชาฟิสิกส์ ในเรื่องของอุณหภูมิ ความดัน และพลังงาน เป็นต้น นอกจากในด้านความรู้แล้ว เรายังจะได้ฝึกตนเองให้มีความละเอียดรอบคอบ เพราะ Biogas เป็นการทำงานกับก็าซ จึงต้องอาศัยความพิถีพิถันและความละเอียดอ่อนในการทำงาน และสิ่งที่พวกเราคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเรามากที่สุดในการทำ Biogas ครั้งนี้คือ พวกเราจะได้รับรู้ถึงความยากลำบากในการทำงาน ให้เรารับรู้ว่า เวลาที่เราสามารถใช้พลังงานมหาศาลได้อย่างง่ายดาย แต่การที่เราจะผลิตพลังงานด้วยตัวเองเพียงเล็กน้อยนั้นยากลำบากเพียงใด
วันพุธที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2550
เมน - เจน
อย่างที่เราได้เรียนกันมาทุกวันนี้เราใช้ทรัพยากรกันอย่างสิ้นเปลืองมาก เเละของส่วนมากก้ถูกมองว่าไม่สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก
จนทรัพยากรที่เรามีในโลกนี้น้อยลงไปทุกวันๆ เพราะ เมื่อเราใช้ไปเเล้วมันก้หมดไป
ความคิดเรื่องพลังงานทดแทนจึงเกิดขึ้น biogasก้เป้นหนึ่งในนั้น เพราะbiogasนั้นมาจากการหมักซากพืชเเละสัตว์ต่างๆโดยไม่ใช้ออกซิเจน อย่างเช่น การประกอบกิจการฟาร์มหมู ก้จะนิยมทำbiogasมมาก เพราะ สามารถช่วยลดปริมาณของเสียที่ต้องเกิดขึ้นได้ เเละถ้ามองกลับมาที่โรงเรียนของเราของเสียที่มักจะเกิดเป็นประจำทุกวัน เเละ เป้นจำนวนมากก็คือ เศษอาหารเหลือทิ้ง
นั้นเอง
การทำไบโอแกสนั้นจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายอย่าง เช่น ช่วยลดปริมาณของเสียเเละนำไปหมุนเวียนไปใช้เป็นพลังงานแทนได้อีกด้วย
จนทรัพยากรที่เรามีในโลกนี้น้อยลงไปทุกวันๆ เพราะ เมื่อเราใช้ไปเเล้วมันก้หมดไป
ความคิดเรื่องพลังงานทดแทนจึงเกิดขึ้น biogasก้เป้นหนึ่งในนั้น เพราะbiogasนั้นมาจากการหมักซากพืชเเละสัตว์ต่างๆโดยไม่ใช้ออกซิเจน อย่างเช่น การประกอบกิจการฟาร์มหมู ก้จะนิยมทำbiogasมมาก เพราะ สามารถช่วยลดปริมาณของเสียที่ต้องเกิดขึ้นได้ เเละถ้ามองกลับมาที่โรงเรียนของเราของเสียที่มักจะเกิดเป็นประจำทุกวัน เเละ เป้นจำนวนมากก็คือ เศษอาหารเหลือทิ้ง
นั้นเอง
การทำไบโอแกสนั้นจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายอย่าง เช่น ช่วยลดปริมาณของเสียเเละนำไปหมุนเวียนไปใช้เป็นพลังงานแทนได้อีกด้วย
เมน
ไบโอแก๊ซดีตรงที่มันสามรถกำจัดของเสียเหลือใช้ได้ เช่นมูลสัตว์ น้ำเสียจากโรงงานและเศษอาหาร ไบโอแก๊ซจึงได้ทั้งแก๊ซที่เป็นพลังงานให้เราใช้ และยังสามารถช่วยกำจัดของเสียให้มีประโยชน์ได้ และกากที่ได้หลังจากการทำไบโอแก๊ซก็เป็นปุ๋ยชนิดดีอีกด้วย แก๊ซของมันสามารถเอามาหุงต้มได้ สามารถเอามาเป็นพลังงานส่วนหนึ่งในการผลิตไฟฟ้า(คิดเอง)
ประโยชน์ของแก๊สชีวภาพ(จากเน็ท)
แก๊สชีวภาพเป็นพลังงานใกล้ตัวที่ให้ประโยชน์กับเราในหลายๆด้านขึ้นอยู่กับเราที่ต้องการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านใด โดยแบ่งเป็น 3ด้านใหญ่ๆดังนี้
1.ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพแท้จริงแล้ว เป็นการสร้างระบบกำจัดของเสียที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ หรือระบบกำจัดน้ำเสียจากโรงงานบางประเภท เช่นโรงงานทำเส้นก๋วยเตี๋ยวโรงงานทำแป้งมันเป็นต้น โดยสามารถลดกลิ่นเน่าเหม็น ลดแหล่งเพาะเชื้อโรค ทำให้ทัศนียภาพโดยรอบน่ามองและลดปัญหาสังคมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการวิวาทกับเพื่อนบ้านอันเนื่องจากกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
2.ประโยชน์ด้านพลังงาน ไบโอแก๊สสามารถที่จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงทดแทนการใช้น้ำมัน, แก๊สธรรมชาติ ,ฟืนหรือถ่าน และเป็นเชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้
การใช้แก๊สชีวภาพเพื่อเป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มนั้นแก๊สชีวภาพ 1ลบม. สามารถปรุงอาหารได้ 3มื้อต่อหนึ่งครอบครัว แก๊สจะเกิดขึ้นตลอดเวลาเมื่อใช้หมดแล้วจะเกิดขึ้นมาใหม่ตราบใดที่เรายังมีการระบายมูลสัตว์เข้าไปในบ่อหมักอยู่ สำหรับการที่จะนำไปเป็นเชื้อเพลิงใช้ในเครื่องยนต์ก็สามารถทำได้ ปัจจุบันมีการปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซลให้สามารถใช้กับแก๊สชีวภาพได้โดยตรง แต่เนื่องจากแก๊สชีวภาพเป็นกลุ่มแก๊สที่ประกอบไปด้วยแก๊สหลายชนิด แก๊สแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกันบางชนิดจะเป็นอันตรายต่อเครื่องยนต์เช่น แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์มีฤทธิ์เป็นกรดจะเข้าไปกัดกร่อนส่วนที่เป็นโลหะให้สึกหรอ และไอน้ำที่มากับแก๊สจะเข้าไปในเครื่องยนต์ทำให้เครื่องยนต์ขัดข้อง ดังนั้นก่อนที่จะนำแก๊สชีวภาพไปใช้กับเครื่องยนต์ต้องมีการดักไอน้ำและแยกไฮโดรเจนซัลไฟด์เสียก่อน
แก๊สชีวภาพมีสถานะอยู่ในรูปของแก๊สจึงทำให้เสียพื้นที่มากในการกักเก็บ ในอนาคตถ้ามีการแยกให้ได้แก๊สมีเทนบริสุทธิ์ แล้วหาวิธีเปลี่ยนสถานะจากแก๊สให้เป็นของเหลวหรือของแข็งได้พื้นที่ในการกักเก็บจะน้อยลงจะทำให้การใช้ประโยชน์จากแก๊สชีวภาพในรูปของพลังงานกว้างขวางมากกว่านี้
3.ประโยชน์ด้านการเกษตร กากมูลสัตว์ที่ย่อยสลายแล้วจะถูกดันออกมาภายนอกเราสามารถนำไปเป็นปุ๋ยใช้กับพืชได้ทันทีหรืออาจจะตากให้แห้งแล้วบรรจุใส่ถุงเพื่อการจำหน่ายก็ได้ กากมูลสัตว์นี้จะปราศจากเมล็ดพันธุ์พืชและเชื้อโรคบางชนิดหรือใข่แมลงต่างๆเนื่องจากถูกหมักอยู่ในบรรยากาศที่ไร้ออกซิเจนเป็นเวลานาน
ประโยชน์ของแก๊สชีวภาพ(จากเน็ท)
แก๊สชีวภาพเป็นพลังงานใกล้ตัวที่ให้ประโยชน์กับเราในหลายๆด้านขึ้นอยู่กับเราที่ต้องการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านใด โดยแบ่งเป็น 3ด้านใหญ่ๆดังนี้
1.ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพแท้จริงแล้ว เป็นการสร้างระบบกำจัดของเสียที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ หรือระบบกำจัดน้ำเสียจากโรงงานบางประเภท เช่นโรงงานทำเส้นก๋วยเตี๋ยวโรงงานทำแป้งมันเป็นต้น โดยสามารถลดกลิ่นเน่าเหม็น ลดแหล่งเพาะเชื้อโรค ทำให้ทัศนียภาพโดยรอบน่ามองและลดปัญหาสังคมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการวิวาทกับเพื่อนบ้านอันเนื่องจากกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
2.ประโยชน์ด้านพลังงาน ไบโอแก๊สสามารถที่จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงทดแทนการใช้น้ำมัน, แก๊สธรรมชาติ ,ฟืนหรือถ่าน และเป็นเชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้
การใช้แก๊สชีวภาพเพื่อเป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มนั้นแก๊สชีวภาพ 1ลบม. สามารถปรุงอาหารได้ 3มื้อต่อหนึ่งครอบครัว แก๊สจะเกิดขึ้นตลอดเวลาเมื่อใช้หมดแล้วจะเกิดขึ้นมาใหม่ตราบใดที่เรายังมีการระบายมูลสัตว์เข้าไปในบ่อหมักอยู่ สำหรับการที่จะนำไปเป็นเชื้อเพลิงใช้ในเครื่องยนต์ก็สามารถทำได้ ปัจจุบันมีการปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซลให้สามารถใช้กับแก๊สชีวภาพได้โดยตรง แต่เนื่องจากแก๊สชีวภาพเป็นกลุ่มแก๊สที่ประกอบไปด้วยแก๊สหลายชนิด แก๊สแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกันบางชนิดจะเป็นอันตรายต่อเครื่องยนต์เช่น แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์มีฤทธิ์เป็นกรดจะเข้าไปกัดกร่อนส่วนที่เป็นโลหะให้สึกหรอ และไอน้ำที่มากับแก๊สจะเข้าไปในเครื่องยนต์ทำให้เครื่องยนต์ขัดข้อง ดังนั้นก่อนที่จะนำแก๊สชีวภาพไปใช้กับเครื่องยนต์ต้องมีการดักไอน้ำและแยกไฮโดรเจนซัลไฟด์เสียก่อน
แก๊สชีวภาพมีสถานะอยู่ในรูปของแก๊สจึงทำให้เสียพื้นที่มากในการกักเก็บ ในอนาคตถ้ามีการแยกให้ได้แก๊สมีเทนบริสุทธิ์ แล้วหาวิธีเปลี่ยนสถานะจากแก๊สให้เป็นของเหลวหรือของแข็งได้พื้นที่ในการกักเก็บจะน้อยลงจะทำให้การใช้ประโยชน์จากแก๊สชีวภาพในรูปของพลังงานกว้างขวางมากกว่านี้
3.ประโยชน์ด้านการเกษตร กากมูลสัตว์ที่ย่อยสลายแล้วจะถูกดันออกมาภายนอกเราสามารถนำไปเป็นปุ๋ยใช้กับพืชได้ทันทีหรืออาจจะตากให้แห้งแล้วบรรจุใส่ถุงเพื่อการจำหน่ายก็ได้ กากมูลสัตว์นี้จะปราศจากเมล็ดพันธุ์พืชและเชื้อโรคบางชนิดหรือใข่แมลงต่างๆเนื่องจากถูกหมักอยู่ในบรรยากาศที่ไร้ออกซิเจนเป็นเวลานาน
Peter มาเอง
ความหมายของแก๊สชีวภาพ
แก๊สชีวภาพ หรือ ไบโอแก๊ส คือ แก๊สที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จากการย่อยสลายสารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน แก๊สชีวภาพประกอบด้วยแก๊สหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณ ๕๐-๗๐% และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)ประมาณ ๓๐-๕๐% ส่วนที่เหลือเป็นแก๊สชนิดอื่น ๆ เช่น ไฮโดเจน(H2) ออกซิเจน(O2) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) ไนโตรเจน(N2) และไอน้ำขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์สภาวะปราศจากออกซิเจน
ขบวนการย่อยสลายประกอบด้วย ๒ ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ เช่น ไขมันแป้ง และโปรตีน ซึ่งอยู่ในรูปสารละลายจนกลายเป็นกรดอินทรีย์ระเหยง่าย (volatile acids) โดยจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด (acid-producing bacteria) และขั้นตอนการเปลี่ยนกรดอินทรีย์ให้เป็นแก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยจุลินทรีย์กลุ่มสร้างมีเทน (methane-producing bacteria)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตแก๊สชีวภาพ
การย่อยสลายสารอินทรีย์และการผลิตแก๊สมีปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
๑. อุณหภูมิ (Temperature) การย่อยสลายสารอินทรีย์และการผลิตแก๊สในสภาพปราศจากออกซิเจน สามารถเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิที่กว้างมากตั้งแต่ ๔-๖๐ องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดของกลุ่มจุลินทรีย์
๒. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ความเป็นกรด-ด่าง มีความสำคัญต่อการหมักมากช่วง pH ที่เหมาะสมอยู่ในระดับ ๖.๖-๗.๕ ถ้า pH ต่ำเกินไปจะเป็นอันตรายต่อแบคทีเรียที่สร้างแก๊สมีเทน
๓. อัลคาลินิตี้ (Alkalinity) ค่าอัลคาลินิตี้ หมายถึง ความสามารถในการรักษาระดับความเป็นกรด-ด่าง ค่าอัลคาลินิตี้ที่เหมาะสมต่อการหมักมีค่าประมาณ ๑,๐๐๐-๕,๐๐๐ มิลลิกรัม/ลิตร ในรูปของแคลเซียมคาร์บอร์เนต (CaCO3)
๔. สารอาหาร (Nutrients) สารอินทรีย์ซึ่งมีความเหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ มีรายงานการศึกษาพบว่า มีสารอาหารในสัดส่วน C:N และ C:P ในอัตรา ๒๕:๑ และ ๒๐:๑ ตามลำดับ
๕. สารยับยั้งและสารพิษ (inhibiting and Toxiic Materials) เช่น กรดไขมันระเหยได้ ไฮโดรเจน หรือแอมโมเนีย สามารถทำให้ขบวนการย่อยสลายในสภาพไร้ออกซิเจนหยุดชะงักได้
๖. สารอินทรีย์และลักษณะของสารอินทรีย์สำหรับขบวนการย่อยสลาย ซึ่งมีความแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ที่เข้าเกี่ยวข้อง
๗. ชนิดและแบบของบ่อแก๊สชีวภาพ (Biogas Plant) บ่อแก๊สชีวภาพ แบ่งตามลักษณะการทำงาน ลักษณะของของเสียที่เป็นวัตถุดิบ และประสิทธิภาพการทำงานได้เป็น ๒ ชนิดใหญ่ ดังนี้๗.๑ บ่อหมักช้าหรือบ่อหมักของแข็ง บ่อหมักช้าที่มีการสร้างใช้ประโยชน์กันและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป มี ๓ แบบหลักคือ
๗.๑.๑ แบบยอดโดม (fined dome digester)
๗.๑.๒ แบบฝาครอบลอย (floating drum digester) หรือแบบอินเดีย (Indian digester)
๗.๑.๓ แบบพลาสติกคลุมราง (plastic covered ditch) หรือแบบปลั๊กโฟลว์ (plug flow digester)๗.๒ บ่อหมักเร็วหรือบ่อบำบัดน้ำเสีย แบ่งได้เป็น ๒ แบบหลัก คือ
๗.๒.๑ แบบบรรจุตัวกลางในสภาพไร้ออกซิเจน (Anaerobic Filter) หรืออาจเรียกตามชื่อย่อว่า แบบเอเอฟ (AF) ตัวกลางที่ใช้ทำได้จากวัสดุหลายชนิด เช่น ก้อนหิน กรวด พลาสติค เส้นใยสังเคราะห์ ไม้ไผ่ตัดเป็นท่อน เป็นต้น ในลักษณะของบ่อหมักเร็วแบบนี้ จุลินทรีย์จะเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนบนตัวกลางที่ถูกตรึงอยู่๗.๒.๒ แบบยูเอเอสบี (UASB หรือ Upflow Anaerobic Sludge Blanker) บ่อหมักเร็วแบบนี้ใช้ตะกอนของสารอินทรีย์ (sludge) ที่เคลื่อนไหวภายในบ่อหมักเป็นตัวกลางให้จุลินทรีย์เกาะ ลักษณะการทำงานของบ่อหมักเกิดขึ้น โดยการควบคุมความเร็วของน้ำเสียให้ไหลเข้าบ่อหมักจากด้านล่างขึ้นสู่ ด้านบนตะกอนส่วนที่เบาจะลอยตัวไปพร้อมกับน้ำเสียที่ไหลล้นออกนอกบ่อตะกอนส่วนที่หนัก จะจมลงก้นบ่อ
ไม่ใช่ปีเตอนะ
แก๊สชีวภาพ หรือ ไบโอแก๊ส คือ แก๊สที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จากการย่อยสลายสารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน แก๊สชีวภาพประกอบด้วยแก๊สหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณ ๕๐-๗๐% และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)ประมาณ ๓๐-๕๐% ส่วนที่เหลือเป็นแก๊สชนิดอื่น ๆ เช่น ไฮโดเจน(H2) ออกซิเจน(O2) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) ไนโตรเจน(N2) และไอน้ำขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์สภาวะปราศจากออกซิเจน
ขบวนการย่อยสลายประกอบด้วย ๒ ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ เช่น ไขมันแป้ง และโปรตีน ซึ่งอยู่ในรูปสารละลายจนกลายเป็นกรดอินทรีย์ระเหยง่าย (volatile acids) โดยจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด (acid-producing bacteria) และขั้นตอนการเปลี่ยนกรดอินทรีย์ให้เป็นแก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยจุลินทรีย์กลุ่มสร้างมีเทน (methane-producing bacteria)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตแก๊สชีวภาพ
การย่อยสลายสารอินทรีย์และการผลิตแก๊สมีปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
๑. อุณหภูมิ (Temperature) การย่อยสลายสารอินทรีย์และการผลิตแก๊สในสภาพปราศจากออกซิเจน สามารถเกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิที่กว้างมากตั้งแต่ ๔-๖๐ องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดของกลุ่มจุลินทรีย์
๒. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ความเป็นกรด-ด่าง มีความสำคัญต่อการหมักมากช่วง pH ที่เหมาะสมอยู่ในระดับ ๖.๖-๗.๕ ถ้า pH ต่ำเกินไปจะเป็นอันตรายต่อแบคทีเรียที่สร้างแก๊สมีเทน
๓. อัลคาลินิตี้ (Alkalinity) ค่าอัลคาลินิตี้ หมายถึง ความสามารถในการรักษาระดับความเป็นกรด-ด่าง ค่าอัลคาลินิตี้ที่เหมาะสมต่อการหมักมีค่าประมาณ ๑,๐๐๐-๕,๐๐๐ มิลลิกรัม/ลิตร ในรูปของแคลเซียมคาร์บอร์เนต (CaCO3)
๔. สารอาหาร (Nutrients) สารอินทรีย์ซึ่งมีความเหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ มีรายงานการศึกษาพบว่า มีสารอาหารในสัดส่วน C:N และ C:P ในอัตรา ๒๕:๑ และ ๒๐:๑ ตามลำดับ
๕. สารยับยั้งและสารพิษ (inhibiting and Toxiic Materials) เช่น กรดไขมันระเหยได้ ไฮโดรเจน หรือแอมโมเนีย สามารถทำให้ขบวนการย่อยสลายในสภาพไร้ออกซิเจนหยุดชะงักได้
๖. สารอินทรีย์และลักษณะของสารอินทรีย์สำหรับขบวนการย่อยสลาย ซึ่งมีความแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ที่เข้าเกี่ยวข้อง
๗. ชนิดและแบบของบ่อแก๊สชีวภาพ (Biogas Plant) บ่อแก๊สชีวภาพ แบ่งตามลักษณะการทำงาน ลักษณะของของเสียที่เป็นวัตถุดิบ และประสิทธิภาพการทำงานได้เป็น ๒ ชนิดใหญ่ ดังนี้๗.๑ บ่อหมักช้าหรือบ่อหมักของแข็ง บ่อหมักช้าที่มีการสร้างใช้ประโยชน์กันและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป มี ๓ แบบหลักคือ
๗.๑.๑ แบบยอดโดม (fined dome digester)
๗.๑.๒ แบบฝาครอบลอย (floating drum digester) หรือแบบอินเดีย (Indian digester)
๗.๑.๓ แบบพลาสติกคลุมราง (plastic covered ditch) หรือแบบปลั๊กโฟลว์ (plug flow digester)๗.๒ บ่อหมักเร็วหรือบ่อบำบัดน้ำเสีย แบ่งได้เป็น ๒ แบบหลัก คือ
๗.๒.๑ แบบบรรจุตัวกลางในสภาพไร้ออกซิเจน (Anaerobic Filter) หรืออาจเรียกตามชื่อย่อว่า แบบเอเอฟ (AF) ตัวกลางที่ใช้ทำได้จากวัสดุหลายชนิด เช่น ก้อนหิน กรวด พลาสติค เส้นใยสังเคราะห์ ไม้ไผ่ตัดเป็นท่อน เป็นต้น ในลักษณะของบ่อหมักเร็วแบบนี้ จุลินทรีย์จะเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนบนตัวกลางที่ถูกตรึงอยู่๗.๒.๒ แบบยูเอเอสบี (UASB หรือ Upflow Anaerobic Sludge Blanker) บ่อหมักเร็วแบบนี้ใช้ตะกอนของสารอินทรีย์ (sludge) ที่เคลื่อนไหวภายในบ่อหมักเป็นตัวกลางให้จุลินทรีย์เกาะ ลักษณะการทำงานของบ่อหมักเกิดขึ้น โดยการควบคุมความเร็วของน้ำเสียให้ไหลเข้าบ่อหมักจากด้านล่างขึ้นสู่ ด้านบนตะกอนส่วนที่เบาจะลอยตัวไปพร้อมกับน้ำเสียที่ไหลล้นออกนอกบ่อตะกอนส่วนที่หนัก จะจมลงก้นบ่อ
ไม่ใช่ปีเตอนะ
BIOGASSSSSSSSS........................?????????
แนวคิดหลัก Biogas
ในขณะที่โลกเรากำลังประสบปัญหาพลังงานขาดแคลน และปัญหาภาวะโลกร้อนอันเกิดมาจากก็าซคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมหาศาลในบรรยากาศ พลังงานทางเลือกจึงเริ่มเป็นที่สนใจของผู้คนทั่วโลก ซึ่ง Biogas หรือกาซชีวภาพก็เป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกนั้นเช่นกัน
Biogas มีประโยชน์มากมายไม่ว่าจะเป็นด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม หรือด้านการเกษตร หากมองในแง่ของพลังงาน Biogas ก็คือเชื้อเพลิงที่สามารถนำมาใช้แทนน้ำมัน และกาซธรรมชาติได้ Biogas สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มได้โดยตรง และยังสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ถ้าหากมองในแง่ของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Biogas ก็คือระบบกำจัดของเสียดีๆนี่เอง การผลิต Biogas จะเปลี่ยนอินทรียวัตถุใดๆก็ตามที่เคยเป็นขยะ ให้กลายเป็นพลังงาน นอกจากนั้น หากเราหันมาใช้การหมัก Biogas แทนการเผาไหม้เชื้อเพลิง จะช่วยลดกลิ่นเหม็นและควันไฟขณะเผา และแน่นอน ช่วยลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่จะถูกปล่อยสู่อากาศ
หากจะมองภาพประโยชน์ของ Biogas ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น อาจเริ่มจากการใช้ประโยชน์ Biogas ในชุมชนรุ่งอรุณของเราก่อน ในหนึ่งวัน เศษอาหารเหลือทิ้งในโรงเรียนรุ่งอรุณมีปริมาณมากมาย ซึ่งทางโรงเรียนก็ได้มีการนำมาใช้ประโยชน์โดยการทำปุ่ย แต่ถ้าเราลองนำเศษอาหารเหล่านั้นมาหมักเพื่อผลิต Biogas นอกจากเราจะนำเชื้อเพลิงที่ได้มาหุงต้มได้แล้ว กากจากการหมัก ยังจะเป็นปุ๋ยชีวภาพซึ่งมีคุณภาพดีกว่าปุ๋ยเคมีอีกด้วย เท่ากับว่า ไม่เพียงแต่เราไม่ต้องหาทางกำจัดของเสียอันมากมายมหาศาล เรายังสามารถผลิตพลังงานสะอาดมาใช้เองได้อีกด้วย
ในขณะที่โลกเรากำลังประสบปัญหาพลังงานขาดแคลน และปัญหาภาวะโลกร้อนอันเกิดมาจากก็าซคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมหาศาลในบรรยากาศ พลังงานทางเลือกจึงเริ่มเป็นที่สนใจของผู้คนทั่วโลก ซึ่ง Biogas หรือกาซชีวภาพก็เป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือกนั้นเช่นกัน
Biogas มีประโยชน์มากมายไม่ว่าจะเป็นด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม หรือด้านการเกษตร หากมองในแง่ของพลังงาน Biogas ก็คือเชื้อเพลิงที่สามารถนำมาใช้แทนน้ำมัน และกาซธรรมชาติได้ Biogas สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มได้โดยตรง และยังสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ถ้าหากมองในแง่ของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Biogas ก็คือระบบกำจัดของเสียดีๆนี่เอง การผลิต Biogas จะเปลี่ยนอินทรียวัตถุใดๆก็ตามที่เคยเป็นขยะ ให้กลายเป็นพลังงาน นอกจากนั้น หากเราหันมาใช้การหมัก Biogas แทนการเผาไหม้เชื้อเพลิง จะช่วยลดกลิ่นเหม็นและควันไฟขณะเผา และแน่นอน ช่วยลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่จะถูกปล่อยสู่อากาศ
หากจะมองภาพประโยชน์ของ Biogas ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น อาจเริ่มจากการใช้ประโยชน์ Biogas ในชุมชนรุ่งอรุณของเราก่อน ในหนึ่งวัน เศษอาหารเหลือทิ้งในโรงเรียนรุ่งอรุณมีปริมาณมากมาย ซึ่งทางโรงเรียนก็ได้มีการนำมาใช้ประโยชน์โดยการทำปุ่ย แต่ถ้าเราลองนำเศษอาหารเหล่านั้นมาหมักเพื่อผลิต Biogas นอกจากเราจะนำเชื้อเพลิงที่ได้มาหุงต้มได้แล้ว กากจากการหมัก ยังจะเป็นปุ๋ยชีวภาพซึ่งมีคุณภาพดีกว่าปุ๋ยเคมีอีกด้วย เท่ากับว่า ไม่เพียงแต่เราไม่ต้องหาทางกำจัดของเสียอันมากมายมหาศาล เรายังสามารถผลิตพลังงานสะอาดมาใช้เองได้อีกด้วย
วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2550
ไบโอแก๊ส-แก๊สชีวภาพ-แก๊สขี้หมู สามคำนี้แท้จริงแล้วคือสิ่งเดียวกันต่างกันตรงว่าใครจะเป็นผู้พูด ถ้าเป็นนักวิชาการจะพูดว่า “ ไบโอแก๊ส ” ถ้าเป็น นักอนุรักษ์จะพูดว่า “ แก๊สชีวภาพ ” แต่ถ้าเป็นชาวบ้านโดยทั่วไปจะพูดว่า “ แก๊สขี้หมูหรือไฟขี้หมู ” เนื่องจากส่วนใหญ่จะเห็นว่าแก๊สชนิดนี้ทำมาจากขี้หมู ทั้งที่แท้จริงแล้ว ใช้ขี้อะไรก็สามารถทำได้ เพื่อให้เกิดความครอบคลุมในที่นี้จะขอใช้คำว่า “ แก๊สชีวภาพ ”
แก๊สชีวภาพคืออะไร
แก๊สชีวภาพ คือกลุ่มแก๊สที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุ เช่นคน สัตว์ พืชและสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่ตายลงแล้วถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์(สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก)กลุ่มหนึ่ง โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้มีชีวิตอยู่ได้โดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจน ในขณะที่ทำการย่อยสลายอยู่นั้นจะเกิดแก๊สขึ้นกลุ่มหนึ่ง มีแก๊สมีเทนเป็นแก๊สประกอบหลัก รองลงมาจะเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์,แก๊สไนโตรเจน,แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สชนิดอื่นๆ แก๊สมีเทนซึ่งมีมากที่สุด มีคุณสมบัติไม่มีสีไม่มีกลิ่นและติดไฟได้ แต่ที่เราเปิดแก๊สชีวภาพแล้วจะมีกลิ่นเหม็นนั้นเกิดจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือ “ แก๊สใข่เน่า ” เมื่อเราจุดไฟกลิ่นเหม็นจะหายไป
สรุป แก๊สชีวภาพคือแก๊สที่เกิดจากการย่อยสลายของอินทรียวัตถุในสภาพไร้ออกซิเจน
ชนิดของแก๊ส
ปริมาณ
มีเทน
50-60 %
คาร์บอนไดอ๊อกไซด์
25-35 %
ไนโตรเจน
2-7%
ไฮโดรเจน
1-5 %
คาร์บอนมอนนอกไซด์
เล็กน้อย
ไฮโดรเจนซัลไฟด์
เล็กน้อย
แก๊สอื่นๆ
เล็กน้อย
ตารางกลุ่มแก๊สที่เกิดจากการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุ
อะไรบ้างที่นำมาผลิตเป็นแก๊สชีวภาพได้
อินทรีย์วัตถุทุกชนิดที่เน่าเปื่อยได้สามารถนำมาผลิตเป็นแก๊สชีวภาพได้ทั้งสิ้นแต่จะได้จำนวนแก๊สมากหรือน้อยและจะเกิดแก๊สยากหรือง่ายขึ้นอยู่กับอินทรีย์วัตถุชนิดนั้นว่าเป็นอะไร
เช่น ถ้าเราใช้พืชสด การเกิดแก๊สจะเกิดได้ยากกว่าการใช้มูลสัตว์เนื่องจากมูลสัตว์ถูกย่อยมาแล้วจากกระเพาะของสัตว์ทำให้มีขนาดเล็กลงจุลินทรีย์สามารถกัดกินย่อยสลายได้ง่าย ดังนั้นการใช้พืชสด
จะต้องทำการลดขนาดโดยการสับแล้วทิ้งไว้ประมาณ 1สัปดาห์เพื่อลดปริมาณน้ำในพืช นอกจากนี้แล้วน้ำเสียก็สามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้เช่น น้ำเสีย,น้ำทิ้งจากโรงฆ่าสัตว์ น้ำเสีย,น้ำทิ้งจากโรงงานแป้งมัน หรือน้ำเสีย,น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น
การออกแบบบ่อแก๊สชีวภาพนั้นจะต้องคำนึงถึงอินทรีย์วัตถุหรือวัตถุดิบที่เราจะใช้ในการผลิตแก๊ส เช่นถ้าใช้พืชสด กากจากการย่อยสลายจะมีมากเราจะออกแบบท่อทางออกเพื่อระบายกากอย่างไร หรือวัตถุดิบเป็นของเหลวเราจะออกแบบบ่อให้มีขนาดหรือลักษณะบ่ออย่างไรเป็นต้น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการผลิตแก๊ส
1. ชนิดและขนาดของอินทรีย์วัตถุหรือวัตถุดิบที่เราใช้ ถ้าผ่านการย่อยมาก่อนแล้วเช่นมูลสัตว์จะทำให้เกิดแก๊สได้ง่ายและมีปริมาณแก๊สมากกว่า
2. อุณหภูมิเป็นตัวช่วยเร่งให้เกิดแก๊สเร็วขึ้นถ้าอุณหภูมิต่ำจุลินทรีย์จะเจริญเติบโตช้าหรือหยุดการเจริญเติบโตทำให้เกิดแก๊สน้อยหรือไม่เกิดแก๊สเลยดังนั้นบ่อแก๊สที่ดีจะต้องมีแสงแดดส่องถึง
3. ความเป็นกรดเป็นด่างภายในบ่อแก๊สถ้าเกิดความเป็นด่างมากจุลินทรีย์จะตายค่าของความเป็นกรดเป็นด่างที่เหมาะสมคือ 6.6-7.6 ph
4 . แบบและชนิดของบ่อแก๊ส
5 . สารเคมีบางอย่าง เช่น ผงซักฟอก ยาฆ่าแมลง จะยับยั้งการเติบโตของจุลินทรีย์
ประโยชน์ของแก๊สชีวภาพ
แก๊สชีวภาพเป็นพลังงานใกล้ตัวที่ให้ประโยชน์กับเราในหลายๆด้านขึ้นอยู่กับเราที่ต้องการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านใด โดยแบ่งเป็น 3ด้านใหญ่ๆดังนี้
1.ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพแท้จริงแล้ว เป็นการสร้างระบบกำจัดของเสียที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ หรือระบบกำจัดน้ำเสียจากโรงงานบางประเภท เช่นโรงงานทำเส้นก๋วยเตี๋ยวโรงงานทำแป้งมันเป็นต้น โดยสามารถลดกลิ่นเน่าเหม็น ลดแหล่งเพาะเชื้อโรค ทำให้ทัศนียภาพโดยรอบน่ามองและลดปัญหาสังคมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการวิวาทกับเพื่อนบ้านอันเนื่องจากกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
2.ประโยชน์ด้านพลังงาน ไบโอแก๊สสามารถที่จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงทดแทนการใช้น้ำมัน, แก๊สธรรมชาติ ,ฟืนหรือถ่าน และเป็นเชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้
การใช้แก๊สชีวภาพเพื่อเป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มนั้นแก๊สชีวภาพ 1ลบม. สามารถปรุงอาหารได้ 3มื้อต่อหนึ่งครอบครัว แก๊สจะเกิดขึ้นตลอดเวลาเมื่อใช้หมดแล้วจะเกิดขึ้นมาใหม่ตราบใดที่เรายังมีการระบายมูลสัตว์เข้าไปในบ่อหมักอยู่ สำหรับการที่จะนำไปเป็นเชื้อเพลิงใช้ในเครื่องยนต์ก็สามารถทำได้ ปัจจุบันมีการปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซลให้สามารถใช้กับแก๊สชีวภาพได้โดยตรง แต่เนื่องจากแก๊สชีวภาพเป็นกลุ่มแก๊สที่ประกอบไปด้วยแก๊สหลายชนิด แก๊สแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกันบางชนิดจะเป็นอันตรายต่อเครื่องยนต์เช่น แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์มีฤทธิ์เป็นกรดจะเข้าไปกัดกร่อนส่วนที่เป็นโลหะให้สึกหรอ และไอน้ำที่มากับแก๊สจะเข้าไปในเครื่องยนต์ทำให้เครื่องยนต์ขัดข้อง ดังนั้นก่อนที่จะนำแก๊สชีวภาพไปใช้กับเครื่องยนต์ต้องมีการดักไอน้ำและแยกไฮโดรเจนซัลไฟด์เสียก่อน
แก๊สชีวภาพมีสถานะอยู่ในรูปของแก๊สจึงทำให้เสียพื้นที่มากในการกักเก็บ ในอนาคตถ้ามีการแยกให้ได้แก๊สมีเทนบริสุทธิ์ แล้วหาวิธีเปลี่ยนสถานะจากแก๊สให้เป็นของเหลวหรือของแข็งได้พื้นที่ในการกักเก็บจะน้อยลงจะทำให้การใช้ประโยชน์จากแก๊สชีวภาพในรูปของพลังงานกว้างขวางมากกว่านี้
3.ประโยชน์ด้านการเกษตร กากมูลสัตว์ที่ย่อยสลายแล้วจะถูกดันออกมาภายนอกเราสามารถนำไปเป็นปุ๋ยใช้กับพืชได้ทันทีหรืออาจจะตากให้แห้งแล้วบรรจุใส่ถุงเพื่อการจำหน่ายก็ได้ กากมูลสัตว์นี้จะปราศจากเมล็ดพันธุ์พืชและเชื้อโรคบางชนิดหรือใข่แมลงต่างๆเนื่องจากถูกหมักอยู่ในบรรยากาศที่ไร้ออกซิเจนเป็นเวลานาน
แบบและชนิดของบ่อแก๊สชีวภาพ
ตามหลักการของการผลิตแก๊สชีวภาพ คือ การทำให้อินทรีย์วัตถุเกิดการเน่าเปื่อยย่อยสลาย แล้วเกิดกลุ่มแก๊ส ถ้าต้องการที่จะนำแก๊สมาใช้ประโยชน์ จะต้องมีการเก็บกักแก๊สดังกล่าว โดยการหาวัสดุมาคลุมอินทรีย์วัตถุนั้น เมื่อเกิดการเน่าเปื่อยและเกิดแก๊สแล้ว แก๊สจะอยู่ในวัสดุที่คลุมรอการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป พื้นฐานของบ่อแก๊สชีวภาพแต่ละแบบจะเหมือนกันจะแตกต่างกันตรงว่าจะออกแบบบ่อแก๊สอย่างไรให้เหมาะสมกับวัสดุที่ใช้ผลิตแก๊ส สำหรับบ่อแก๊สที่มีการก่อสร้างกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยมีดังนี้
แบบฝาครอบลอย ( floating drum digester ) หรือแบบอินเดียเป็นแบบแรกๆที่มีการนำมาก่อสร้างในประเทศไทยเป็นบ่อขนาดเล็กมีทั้งแบบบ่อ2ชั้นและแบบบ่อชั้นเดียว บ่อหมักมีถังโลหะครอบอยู่ด้านบน ถังโลหะนี้จะเป็นตัวเก็บแก๊สและสามารถเพิ่มแรงดันแก๊สได้โดยการเพิ่มน้ำหนักบนถังโลหะเนื่องจากถังครอบเป็นโลหะการก่อสร้างบ่อขนาดใหญ่จึงทำได้ยาก มีการคิดประยุกต์โดยการขุดบ่อหมัก หลายๆบ่อ ก่ออิฐฉาบปูนหรือใช้ถังซีเมนต์แล้วปิดฝาตายตัว จากนั้นต่อท่อนำแก๊สมายังถังโลหะซึ่งคว่ำอยู่ในบ่อที่ใส่น้ำอีกบ่อหนึ่งให้ถังโลหะทำหน้าที่เป็นถังเก็บแก๊ส บ่อชนิดนี้เป็นบ่อแก๊สที่ไม่สลับซับซ้อนเกษตรกรที่มีความสามารถทางงานปูนมาบ้างก็สามารถก่อสร้างเองได้ การดูแลบำรุงรักษาง่าย อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับวัสดุที่นำมาทำถังเก็บแก๊สและการบำรุงรักษา
แบบถุงพลาสติก เป็นการประยุกต์มาจากบ่อแก๊สแบบพลาสติกครอบรางหรือแบบรางขนานโดยการย่อขนาด เหมาะกับเกษตรกรรายย่อย มีวิธีการก่อสร้างดังนี้ เริ่มแรกขุดดินให้เป็นบ่อสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1เมตรลึกประมาณ 1เมตรความยาวแล้วแต่จะกำหนดจากนั้นเตรียมถุงพลาสติกที่มีลักษณะเป็นท่อ(สั่งจากโรงงานทำถุงพลาสติก)อาจจะซ้อนกันสัก 3ชั้นเพื่อป้องกันการรั่วซึมหรือของแหลมทิ่มแทงจากนั้นนำท่อ PVC ยาว 2เมตรจำนวน2ท่อนท่อนหนึ่งสอดเข้าที่ปลายถุงพลาสติกข้างหนึ่งแล้วมัดด้วยยางในรถยนต์อย่างแน่นหนาให้เป็นทางเข้าของมูลสัตว์ ส่วนท่ออีกท่อนหนึ่งนำมาสอดใส่ที่ปลายถุงที่เหลือแล้วมัดด้วยยางในรถยนต์ ให้เป็นทางออกของมูลสัตว์จากนั้นนำถุงพลาสติกที่ประกอบท่อทางเข้าทางออกแล้ววางลงในบ่อสี่เหลี่ยมที่ขุดไว้ จากนั้นทำรางระบายมูลสัตว์จากคอกสัตว์มายังท่อทางเข้า ต่อท่อนำแก๊ส และสร้างที่เก็บแก๊ส บ่อแก๊สชนิดนี้เป็นบ่อแก๊สชนิดเล็ก ข้อดีคือราคาถูก ง่ายในการก่อสร้าง แต่มีข้อเสียคือเนื่องจากวัสดุที่ใช้ เป็น พลาสติก(ชนิดเดียวกันกับถุงพลาสติกที่เราใช้ใส่ของ ค่อนข้างที่จะบอบบาง และเมื่อใช้ไประยะหนึ่งต้องมีการเปลี่ยนถุงพลาสติกใหม่เนื่องจากในถุงเก่าจะมีมูลสัตว์ตกตะกอนอยู่ภายใน
แบบโดมคงที่ ( fixed dome digester ) เป็นบ่อแก๊สชีวภาพที่มีลักษณะเป็นโดมฝังอยู่ใต้ดิน แบ่งออกเป็น 3ส่วนคือบ่อเติม บ่อหมัก และบ่อล้น โดยบ่อหมักจะมีขนาดใหญ่ที่สุดมีฝาสามารถเปิดลงไปทำความสะอาดหรือซ่อมแซมได้ การก่อสร้างสลับซับซ้อนกว่าสองแบบที่ผ่านมาเนื่องจากเป็นบ่อที่มีขนาดใหญ่กว่า เก็บกักแก๊สได้มากกว่า บ่อหมักจะต้องแข็งแรงทนทานต่อแรงดันแก๊สได้ ดังนั้นการก่อสร้างต้องอาศัยผู้ชำนาญในการควบคุมการก่อสร้าง ขนาดความจุบ่อมีหลายขนาดเหมาะกับเกษตรกรรายเล็ก(สุกรขุนไม่เกิน1000ตัว) ตัวบ่อสร้างด้วยการก่ออิฐแล้วฉาบด้วยปูนซีเมนต์มีการก่อสร้างกันแพร่หลาย
แบบรางขนาน ( plug flow digester ) หรือแบบ พลาสติกคลุมราง(plastic covered ditch )ลักษณะจะเป็นบ่อสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพลาสติกคลุมด้านบนเพื่อเก็บแก๊ส ส่วนใหญ่แล้วจะสร้างเพื่อใช้กับฟาร์มขนาดใหญ่และขนาดกลาง นับว่าบ่อแก๊สชนิดนี้เป็นบ่อแก๊สที่มีประสิทธิภาพ ในการทำให้เกิดแก๊สมากที่สุดเนื่องจากเป็นบ่อที่มีลักษณะยาว มูลสัตว์มีเวลาอยู่ในบ่อนานจุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้อย่างเต็มที่ก่อนที่มูลสัตว์จะถูกผลักออกทางท่อทางออก มีการประยุกต์ปรับปรุงใช้กันอยู่สองแบบคือ
1. แบบพลาสติกคลุมบ่อดิน ( covered lagoon ) ลักษณะเป็นบ่อดินสี่เหลี่ยมผืนผ้าภายในมีมูลสัตว์แล้วมีพลาสติกคลุมด้านบนมีท่อระบายมูลสัตว์เข้าและออก พลาสติกที่ใช้คลุมเป็นพลาสติกคุณภาพดีต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ข้อดีของบ่อแก๊สแบบนี้คือมีราคาถูก แต่มีข้อเสียคือจะมีการสะสมของกากมูลสัตว์ภายในบ่อทำให้เมื่อใช้ไปได้ระยะหนึ่งจำเป็นที่จะต้องเปิดพลาสติกออกเพื่อนำกากมูลสัตว์ที่ตกตะกอนออก อีกประการหนึ่งพื้นของบ่อแบบนี้เป็นพื้นดินดังนั้นน้ำมูลสัตว์เข้มข้นจะซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดินทำให้น้ำใต้ดินเสียเป็นอันตรายกับสิ่งแวดล้อมมาก บางประเทศห้ามไม่ให้มีการก่อสร้างบ่อแก๊สชนิดนี้ แต่ในปัจจุบันมีการปรับปรุงแก้ไขโดยในขณะทำการสร้างบ่อจะมีการบดอัดพื้นพื้นหลุมให้แน่นแล้วปูพื้นด้วยพลาสติกเพี่อป้องกันการซึมผ่านของน้ำมูลสัตว์ซึมลงสู่ชั้นดิน
2. แบบพลาสติกคลุมราง ลักษณะเหมือนแบบพลาสติกคลุมบ่อดินแต่มีการแก้ไขเพื่อไม่ให้ น้ำมูลสัตว์ซึมลงสู่ชั้นดินโดยสิ้นเชิงโดยการทำบ่อให้เป็นซีเมนต์ทั้งหมดแล้วคลุมด้วยพลาสติก หลักการทำงานก็คือมูลสัตว์ก่อนเข้าบ่อหมักจะถูกกวนให้เข้ากับน้ำแล้วแยกกากที่มีขนาดใหญ่ออก จากนั้นน้ำมูลสัตว์จะถูกสูบเข้าไปยังบ่อหมัก ภายในบ่อหมักจะถูกออกแบบให้เป็นห้องเพื่อดักให้กากตกตะกอน และชะลอไม่ให้น้ำมูลสัตว์ไหลออกจากบ่อหมักเร็วเกินไป น้ำที่ออกมาจากบ่อหมักจะถูกปล่อยลงบ่อดินเพื่อทำการบำบัดโดยธรรมชาติและปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติหรือนำกลับมาใช้ในฟาร์มต่อไป บ่อแก๊สชนิดนี้จะใช้กับฟาร์มขนาดกลางและขนาดใหญ่ ข้อดีคือสามารถแก้ไขปัญหาได้ครบและให้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ แต่มีข้อเสียคือราคาในการก่อสร้างค่อนข้างสูง และต้องใช้พื้นที่มากในการที่จะสร้างให้ครบทั้งระบบ
แก๊สชีวภาพคืออะไร
แก๊สชีวภาพ คือกลุ่มแก๊สที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุ เช่นคน สัตว์ พืชและสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่ตายลงแล้วถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์(สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก)กลุ่มหนึ่ง โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้มีชีวิตอยู่ได้โดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจน ในขณะที่ทำการย่อยสลายอยู่นั้นจะเกิดแก๊สขึ้นกลุ่มหนึ่ง มีแก๊สมีเทนเป็นแก๊สประกอบหลัก รองลงมาจะเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์,แก๊สไนโตรเจน,แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สชนิดอื่นๆ แก๊สมีเทนซึ่งมีมากที่สุด มีคุณสมบัติไม่มีสีไม่มีกลิ่นและติดไฟได้ แต่ที่เราเปิดแก๊สชีวภาพแล้วจะมีกลิ่นเหม็นนั้นเกิดจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือ “ แก๊สใข่เน่า ” เมื่อเราจุดไฟกลิ่นเหม็นจะหายไป
สรุป แก๊สชีวภาพคือแก๊สที่เกิดจากการย่อยสลายของอินทรียวัตถุในสภาพไร้ออกซิเจน
ชนิดของแก๊ส
ปริมาณ
มีเทน
50-60 %
คาร์บอนไดอ๊อกไซด์
25-35 %
ไนโตรเจน
2-7%
ไฮโดรเจน
1-5 %
คาร์บอนมอนนอกไซด์
เล็กน้อย
ไฮโดรเจนซัลไฟด์
เล็กน้อย
แก๊สอื่นๆ
เล็กน้อย
ตารางกลุ่มแก๊สที่เกิดจากการย่อยสลายของอินทรีย์วัตถุ
อะไรบ้างที่นำมาผลิตเป็นแก๊สชีวภาพได้
อินทรีย์วัตถุทุกชนิดที่เน่าเปื่อยได้สามารถนำมาผลิตเป็นแก๊สชีวภาพได้ทั้งสิ้นแต่จะได้จำนวนแก๊สมากหรือน้อยและจะเกิดแก๊สยากหรือง่ายขึ้นอยู่กับอินทรีย์วัตถุชนิดนั้นว่าเป็นอะไร
เช่น ถ้าเราใช้พืชสด การเกิดแก๊สจะเกิดได้ยากกว่าการใช้มูลสัตว์เนื่องจากมูลสัตว์ถูกย่อยมาแล้วจากกระเพาะของสัตว์ทำให้มีขนาดเล็กลงจุลินทรีย์สามารถกัดกินย่อยสลายได้ง่าย ดังนั้นการใช้พืชสด
จะต้องทำการลดขนาดโดยการสับแล้วทิ้งไว้ประมาณ 1สัปดาห์เพื่อลดปริมาณน้ำในพืช นอกจากนี้แล้วน้ำเสียก็สามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้เช่น น้ำเสีย,น้ำทิ้งจากโรงฆ่าสัตว์ น้ำเสีย,น้ำทิ้งจากโรงงานแป้งมัน หรือน้ำเสีย,น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น
การออกแบบบ่อแก๊สชีวภาพนั้นจะต้องคำนึงถึงอินทรีย์วัตถุหรือวัตถุดิบที่เราจะใช้ในการผลิตแก๊ส เช่นถ้าใช้พืชสด กากจากการย่อยสลายจะมีมากเราจะออกแบบท่อทางออกเพื่อระบายกากอย่างไร หรือวัตถุดิบเป็นของเหลวเราจะออกแบบบ่อให้มีขนาดหรือลักษณะบ่ออย่างไรเป็นต้น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการผลิตแก๊ส
1. ชนิดและขนาดของอินทรีย์วัตถุหรือวัตถุดิบที่เราใช้ ถ้าผ่านการย่อยมาก่อนแล้วเช่นมูลสัตว์จะทำให้เกิดแก๊สได้ง่ายและมีปริมาณแก๊สมากกว่า
2. อุณหภูมิเป็นตัวช่วยเร่งให้เกิดแก๊สเร็วขึ้นถ้าอุณหภูมิต่ำจุลินทรีย์จะเจริญเติบโตช้าหรือหยุดการเจริญเติบโตทำให้เกิดแก๊สน้อยหรือไม่เกิดแก๊สเลยดังนั้นบ่อแก๊สที่ดีจะต้องมีแสงแดดส่องถึง
3. ความเป็นกรดเป็นด่างภายในบ่อแก๊สถ้าเกิดความเป็นด่างมากจุลินทรีย์จะตายค่าของความเป็นกรดเป็นด่างที่เหมาะสมคือ 6.6-7.6 ph
4 . แบบและชนิดของบ่อแก๊ส
5 . สารเคมีบางอย่าง เช่น ผงซักฟอก ยาฆ่าแมลง จะยับยั้งการเติบโตของจุลินทรีย์
ประโยชน์ของแก๊สชีวภาพ
แก๊สชีวภาพเป็นพลังงานใกล้ตัวที่ให้ประโยชน์กับเราในหลายๆด้านขึ้นอยู่กับเราที่ต้องการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านใด โดยแบ่งเป็น 3ด้านใหญ่ๆดังนี้
1.ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพแท้จริงแล้ว เป็นการสร้างระบบกำจัดของเสียที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ หรือระบบกำจัดน้ำเสียจากโรงงานบางประเภท เช่นโรงงานทำเส้นก๋วยเตี๋ยวโรงงานทำแป้งมันเป็นต้น โดยสามารถลดกลิ่นเน่าเหม็น ลดแหล่งเพาะเชื้อโรค ทำให้ทัศนียภาพโดยรอบน่ามองและลดปัญหาสังคมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการวิวาทกับเพื่อนบ้านอันเนื่องจากกลิ่นเหม็นของมูลสัตว์
2.ประโยชน์ด้านพลังงาน ไบโอแก๊สสามารถที่จะนำมาเป็นเชื้อเพลิงทดแทนการใช้น้ำมัน, แก๊สธรรมชาติ ,ฟืนหรือถ่าน และเป็นเชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้
การใช้แก๊สชีวภาพเพื่อเป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้มนั้นแก๊สชีวภาพ 1ลบม. สามารถปรุงอาหารได้ 3มื้อต่อหนึ่งครอบครัว แก๊สจะเกิดขึ้นตลอดเวลาเมื่อใช้หมดแล้วจะเกิดขึ้นมาใหม่ตราบใดที่เรายังมีการระบายมูลสัตว์เข้าไปในบ่อหมักอยู่ สำหรับการที่จะนำไปเป็นเชื้อเพลิงใช้ในเครื่องยนต์ก็สามารถทำได้ ปัจจุบันมีการปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซลให้สามารถใช้กับแก๊สชีวภาพได้โดยตรง แต่เนื่องจากแก๊สชีวภาพเป็นกลุ่มแก๊สที่ประกอบไปด้วยแก๊สหลายชนิด แก๊สแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกันบางชนิดจะเป็นอันตรายต่อเครื่องยนต์เช่น แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์มีฤทธิ์เป็นกรดจะเข้าไปกัดกร่อนส่วนที่เป็นโลหะให้สึกหรอ และไอน้ำที่มากับแก๊สจะเข้าไปในเครื่องยนต์ทำให้เครื่องยนต์ขัดข้อง ดังนั้นก่อนที่จะนำแก๊สชีวภาพไปใช้กับเครื่องยนต์ต้องมีการดักไอน้ำและแยกไฮโดรเจนซัลไฟด์เสียก่อน
แก๊สชีวภาพมีสถานะอยู่ในรูปของแก๊สจึงทำให้เสียพื้นที่มากในการกักเก็บ ในอนาคตถ้ามีการแยกให้ได้แก๊สมีเทนบริสุทธิ์ แล้วหาวิธีเปลี่ยนสถานะจากแก๊สให้เป็นของเหลวหรือของแข็งได้พื้นที่ในการกักเก็บจะน้อยลงจะทำให้การใช้ประโยชน์จากแก๊สชีวภาพในรูปของพลังงานกว้างขวางมากกว่านี้
3.ประโยชน์ด้านการเกษตร กากมูลสัตว์ที่ย่อยสลายแล้วจะถูกดันออกมาภายนอกเราสามารถนำไปเป็นปุ๋ยใช้กับพืชได้ทันทีหรืออาจจะตากให้แห้งแล้วบรรจุใส่ถุงเพื่อการจำหน่ายก็ได้ กากมูลสัตว์นี้จะปราศจากเมล็ดพันธุ์พืชและเชื้อโรคบางชนิดหรือใข่แมลงต่างๆเนื่องจากถูกหมักอยู่ในบรรยากาศที่ไร้ออกซิเจนเป็นเวลานาน
แบบและชนิดของบ่อแก๊สชีวภาพ
ตามหลักการของการผลิตแก๊สชีวภาพ คือ การทำให้อินทรีย์วัตถุเกิดการเน่าเปื่อยย่อยสลาย แล้วเกิดกลุ่มแก๊ส ถ้าต้องการที่จะนำแก๊สมาใช้ประโยชน์ จะต้องมีการเก็บกักแก๊สดังกล่าว โดยการหาวัสดุมาคลุมอินทรีย์วัตถุนั้น เมื่อเกิดการเน่าเปื่อยและเกิดแก๊สแล้ว แก๊สจะอยู่ในวัสดุที่คลุมรอการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป พื้นฐานของบ่อแก๊สชีวภาพแต่ละแบบจะเหมือนกันจะแตกต่างกันตรงว่าจะออกแบบบ่อแก๊สอย่างไรให้เหมาะสมกับวัสดุที่ใช้ผลิตแก๊ส สำหรับบ่อแก๊สที่มีการก่อสร้างกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยมีดังนี้
แบบฝาครอบลอย ( floating drum digester ) หรือแบบอินเดียเป็นแบบแรกๆที่มีการนำมาก่อสร้างในประเทศไทยเป็นบ่อขนาดเล็กมีทั้งแบบบ่อ2ชั้นและแบบบ่อชั้นเดียว บ่อหมักมีถังโลหะครอบอยู่ด้านบน ถังโลหะนี้จะเป็นตัวเก็บแก๊สและสามารถเพิ่มแรงดันแก๊สได้โดยการเพิ่มน้ำหนักบนถังโลหะเนื่องจากถังครอบเป็นโลหะการก่อสร้างบ่อขนาดใหญ่จึงทำได้ยาก มีการคิดประยุกต์โดยการขุดบ่อหมัก หลายๆบ่อ ก่ออิฐฉาบปูนหรือใช้ถังซีเมนต์แล้วปิดฝาตายตัว จากนั้นต่อท่อนำแก๊สมายังถังโลหะซึ่งคว่ำอยู่ในบ่อที่ใส่น้ำอีกบ่อหนึ่งให้ถังโลหะทำหน้าที่เป็นถังเก็บแก๊ส บ่อชนิดนี้เป็นบ่อแก๊สที่ไม่สลับซับซ้อนเกษตรกรที่มีความสามารถทางงานปูนมาบ้างก็สามารถก่อสร้างเองได้ การดูแลบำรุงรักษาง่าย อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับวัสดุที่นำมาทำถังเก็บแก๊สและการบำรุงรักษา
แบบถุงพลาสติก เป็นการประยุกต์มาจากบ่อแก๊สแบบพลาสติกครอบรางหรือแบบรางขนานโดยการย่อขนาด เหมาะกับเกษตรกรรายย่อย มีวิธีการก่อสร้างดังนี้ เริ่มแรกขุดดินให้เป็นบ่อสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1เมตรลึกประมาณ 1เมตรความยาวแล้วแต่จะกำหนดจากนั้นเตรียมถุงพลาสติกที่มีลักษณะเป็นท่อ(สั่งจากโรงงานทำถุงพลาสติก)อาจจะซ้อนกันสัก 3ชั้นเพื่อป้องกันการรั่วซึมหรือของแหลมทิ่มแทงจากนั้นนำท่อ PVC ยาว 2เมตรจำนวน2ท่อนท่อนหนึ่งสอดเข้าที่ปลายถุงพลาสติกข้างหนึ่งแล้วมัดด้วยยางในรถยนต์อย่างแน่นหนาให้เป็นทางเข้าของมูลสัตว์ ส่วนท่ออีกท่อนหนึ่งนำมาสอดใส่ที่ปลายถุงที่เหลือแล้วมัดด้วยยางในรถยนต์ ให้เป็นทางออกของมูลสัตว์จากนั้นนำถุงพลาสติกที่ประกอบท่อทางเข้าทางออกแล้ววางลงในบ่อสี่เหลี่ยมที่ขุดไว้ จากนั้นทำรางระบายมูลสัตว์จากคอกสัตว์มายังท่อทางเข้า ต่อท่อนำแก๊ส และสร้างที่เก็บแก๊ส บ่อแก๊สชนิดนี้เป็นบ่อแก๊สชนิดเล็ก ข้อดีคือราคาถูก ง่ายในการก่อสร้าง แต่มีข้อเสียคือเนื่องจากวัสดุที่ใช้ เป็น พลาสติก(ชนิดเดียวกันกับถุงพลาสติกที่เราใช้ใส่ของ ค่อนข้างที่จะบอบบาง และเมื่อใช้ไประยะหนึ่งต้องมีการเปลี่ยนถุงพลาสติกใหม่เนื่องจากในถุงเก่าจะมีมูลสัตว์ตกตะกอนอยู่ภายใน
แบบโดมคงที่ ( fixed dome digester ) เป็นบ่อแก๊สชีวภาพที่มีลักษณะเป็นโดมฝังอยู่ใต้ดิน แบ่งออกเป็น 3ส่วนคือบ่อเติม บ่อหมัก และบ่อล้น โดยบ่อหมักจะมีขนาดใหญ่ที่สุดมีฝาสามารถเปิดลงไปทำความสะอาดหรือซ่อมแซมได้ การก่อสร้างสลับซับซ้อนกว่าสองแบบที่ผ่านมาเนื่องจากเป็นบ่อที่มีขนาดใหญ่กว่า เก็บกักแก๊สได้มากกว่า บ่อหมักจะต้องแข็งแรงทนทานต่อแรงดันแก๊สได้ ดังนั้นการก่อสร้างต้องอาศัยผู้ชำนาญในการควบคุมการก่อสร้าง ขนาดความจุบ่อมีหลายขนาดเหมาะกับเกษตรกรรายเล็ก(สุกรขุนไม่เกิน1000ตัว) ตัวบ่อสร้างด้วยการก่ออิฐแล้วฉาบด้วยปูนซีเมนต์มีการก่อสร้างกันแพร่หลาย
แบบรางขนาน ( plug flow digester ) หรือแบบ พลาสติกคลุมราง(plastic covered ditch )ลักษณะจะเป็นบ่อสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพลาสติกคลุมด้านบนเพื่อเก็บแก๊ส ส่วนใหญ่แล้วจะสร้างเพื่อใช้กับฟาร์มขนาดใหญ่และขนาดกลาง นับว่าบ่อแก๊สชนิดนี้เป็นบ่อแก๊สที่มีประสิทธิภาพ ในการทำให้เกิดแก๊สมากที่สุดเนื่องจากเป็นบ่อที่มีลักษณะยาว มูลสัตว์มีเวลาอยู่ในบ่อนานจุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้อย่างเต็มที่ก่อนที่มูลสัตว์จะถูกผลักออกทางท่อทางออก มีการประยุกต์ปรับปรุงใช้กันอยู่สองแบบคือ
1. แบบพลาสติกคลุมบ่อดิน ( covered lagoon ) ลักษณะเป็นบ่อดินสี่เหลี่ยมผืนผ้าภายในมีมูลสัตว์แล้วมีพลาสติกคลุมด้านบนมีท่อระบายมูลสัตว์เข้าและออก พลาสติกที่ใช้คลุมเป็นพลาสติกคุณภาพดีต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ข้อดีของบ่อแก๊สแบบนี้คือมีราคาถูก แต่มีข้อเสียคือจะมีการสะสมของกากมูลสัตว์ภายในบ่อทำให้เมื่อใช้ไปได้ระยะหนึ่งจำเป็นที่จะต้องเปิดพลาสติกออกเพื่อนำกากมูลสัตว์ที่ตกตะกอนออก อีกประการหนึ่งพื้นของบ่อแบบนี้เป็นพื้นดินดังนั้นน้ำมูลสัตว์เข้มข้นจะซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดินทำให้น้ำใต้ดินเสียเป็นอันตรายกับสิ่งแวดล้อมมาก บางประเทศห้ามไม่ให้มีการก่อสร้างบ่อแก๊สชนิดนี้ แต่ในปัจจุบันมีการปรับปรุงแก้ไขโดยในขณะทำการสร้างบ่อจะมีการบดอัดพื้นพื้นหลุมให้แน่นแล้วปูพื้นด้วยพลาสติกเพี่อป้องกันการซึมผ่านของน้ำมูลสัตว์ซึมลงสู่ชั้นดิน
2. แบบพลาสติกคลุมราง ลักษณะเหมือนแบบพลาสติกคลุมบ่อดินแต่มีการแก้ไขเพื่อไม่ให้ น้ำมูลสัตว์ซึมลงสู่ชั้นดินโดยสิ้นเชิงโดยการทำบ่อให้เป็นซีเมนต์ทั้งหมดแล้วคลุมด้วยพลาสติก หลักการทำงานก็คือมูลสัตว์ก่อนเข้าบ่อหมักจะถูกกวนให้เข้ากับน้ำแล้วแยกกากที่มีขนาดใหญ่ออก จากนั้นน้ำมูลสัตว์จะถูกสูบเข้าไปยังบ่อหมัก ภายในบ่อหมักจะถูกออกแบบให้เป็นห้องเพื่อดักให้กากตกตะกอน และชะลอไม่ให้น้ำมูลสัตว์ไหลออกจากบ่อหมักเร็วเกินไป น้ำที่ออกมาจากบ่อหมักจะถูกปล่อยลงบ่อดินเพื่อทำการบำบัดโดยธรรมชาติและปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติหรือนำกลับมาใช้ในฟาร์มต่อไป บ่อแก๊สชนิดนี้จะใช้กับฟาร์มขนาดกลางและขนาดใหญ่ ข้อดีคือสามารถแก้ไขปัญหาได้ครบและให้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ แต่มีข้อเสียคือราคาในการก่อสร้างค่อนข้างสูง และต้องใช้พื้นที่มากในการที่จะสร้างให้ครบทั้งระบบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)